Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5944
Title: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 3
The Development of Learning Activities Based on Design Thinking Approach to Enhance Scientific Creativity for Students in Grade 3
Authors: Naruphon Daoruang
นฤพร ดาวเรือง
Jakkrit Jantakoon
จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
Naresuan University
Jakkrit Jantakoon
จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
jakkritj@nu.ac.th
jakkritj@nu.ac.th
Keywords: กิจกรรมการเรียนรู้
การเชิงคิดออกแบบ
ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
Learning Activities
Design Thinking Approach
Ability in Scientific Creativity
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purposes of this research were 1) to construct and evaluate the effectiveness of learning activities based on design thinking approach to enhance scientific creativity according to the 75/75 criteria, 2) to implement the use of learning activities based on design thinking approach to enhance scientific creativity. The research was carried out by research and development process. The sample consisted of 21 grade 3 students, second semester, academic year 2022, from Ban Samlang Pracharangsan School, Sukhothai Province, which were obtained by simple random sampling. The research instruments were learning activities based on design thinking approach, lesson plans based on design thinking approach, scientific creativity assessment form. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation, percentage and t-test. The results were founded that; 1. The learning activities based on design thinking approach to enhance scientific creativity for grade 3 students  developed, there were 3 activities Learning activities consisted of 5 steps:1) empathize, 2) define, 3) ideate, 4) prototype and 5) test. The results of appropriateness of learning activities were at a high level (X ̅ = 4.27 S.D. = 0.31) and the efficiency was 77.22/76.67, which was in accordance with the specified criteria. 2. The students had the ability in scientific creativity after the learning activities based on design thinking approach to enhance scientific creativity higher than the criteria of 75 percent with a statistical significance at the .05 level.  
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) สร้างและประเมินประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ตามเกณฑ์ 75/75 2) ทดลองใช้กิจกรรมการเรียนโดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ดำเนินการวิจัยด้วยกระบวนการวิจัยและการพัฒนา (Research and Development) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านสามหลังประชารังสรรค์ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 21 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบ แบบประเมินความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว ผลวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่พัฒนาขึ้นมี 3 เรื่อง  กิจกรรมการเรียนรู้มี 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การทำความเข้าใจ (Empathize) ขั้นตอนที่ 2 กำหนดปัญหา (Define) ขั้นตอนที่ 3 หาทางเลือก (Ideate) ขั้นตอนที่ 4 สร้างต้นแบบ (Prototype) และขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ (Test) ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( X ̅ = 4.27, S.D. = 0.31) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.22/76.67 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนมีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5944
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NaruphonDaoruang.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.