Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6356
Title: | THE RELATIONSHIPS BETWEEN THE SCHOOL ADMINISTRATOR’S DIGITAL LITERACY AND INFORMATION TECHNOLOGY MANAGEMENT IN SCHOOL UNDER UTTARADIT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 |
Authors: | KANOKPORN TEDPOL กนกภรณ์ เทศผล Jitima Wannasri จิติมา วรรณศรี Naresuan University Jitima Wannasri จิติมา วรรณศรี jitimaw@nu.ac.th jitimaw@nu.ac.th |
Keywords: | การรู้ดิจิทัล ผู้บริหารสถานศึกษา การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ Digital Literacy School administrators Management information technology |
Issue Date: | 2 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The objectives of this survey research were 1) to study digital literacy of school administrators 2) to study management information technology in school
3) to study the relationships between digital literacy of school administrators and management information technology. The sample consisted of 291 school administrators and teacher in school under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1 Academic year 2021, The 110 administrators were selected by purposive and 181 teachers were size was determined opening the Krejie and Morgan tables, obtained selected by stratified random sampling. The instrument for collecting data was a 5 – point rating scale questionnaire. The statistics used for analyzing the collected data were quantity, percentage, mean, standard deviation and Pearson Correlation Coefficient.
The research results were found as follows; 1) Digital Literacy of school administrators, overall, have digital literacy were at high level. 2) Management information technology in school, overall, have practice were at high level. 3) The relationships between digital literacy of school administrators and management information technology in school, overall, were positively relationships at very high level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 291 คน เป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 110 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และครูผู้สอน จำนวน 181 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยเปิดตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejie and Morgan) เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวม มีการรู้ดิจิทัลอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา โดยภาพรวม มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอยู่ในระดับสูงมาก |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6356 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070017.pdf | 3.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.