Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhacharakamol Khamwaien
dc.contributorพชรกมล คำไวย์th
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:49:51Z-
dc.date.available2024-11-20T04:49:51Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued17/11/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6339-
dc.description.abstractThe research article of the following objective: 1) to study the components and management guidelines of the student care system to promote the adaptability of students in primary schools in  the lower northern region; 2) to create a model  Administering the student care system to promote the adaptability of students at primary schools in the lower northern region ; and 3) to evaluate the administrative model of the student care system to promote the adaptability of students in primary schools in the lower northern region. The research is divided into 3 steps as follows: Step 1: Study the components and guidelines for managing the student care system to promote the adaptability of students in primary schools in the lower northern region by studying related documents and research. By interviewing 6 experts and 3 educational institutions with good practices. Step 2: Create a model for managing the student care system to promote the adaptability of students in primary schools in the northern region. Lower By checking suitability from 9 experts using an interview form. and Step 3: Assessing the administrative model of the student care system to promote the adaptability of students at primary schools in the lower northern region. The feasibility and usefulness of the model were assessed by answering questionnaires from the directors, under the jurisdiction of the Lower Northern Region Primary Educational Service Area Office, there are 327 people. The tool used to collect data was a form to assess the feasibility and usefulness of the student care and support system administration model to promote the adaptability of students in primary schools in the lower northern region. which has the characteristics of a 5-level rating scale (Rating scale). Form the study, the following results were found: 1. Components and guidelines for managing the student care system to promote abilities There are 3 factors in student adjustment: 1) factors in the administration of the student care and support system 2) the process of administration of the student care and support system and 3) students' ability to adapt has 4 aspects: learning, living together with other people, and personal emotions. and physical health. 2.The model for managing the student care and support system to promote the adaptability of students in primary schools in the lower northern region consists of 3 components: Component 1: Factors in the administration of the student care and support system. Component 2: Student care and support system management process and the third component is the adaptability of students. 3. The results of the evaluation of the model for managing the student care system to promote the adaptability of students in primary schools in the lower northern region found that the model is at a high level of feasibility. and the usefulness is at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง  2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง  3) เพื่อประเมินรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 6 คน และสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ จำนวน 3 แห่ง ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยการตรวจสอบความเหมาะสมจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ และขั้นตอนที่ 3 ประเมินรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยการตอบแบบสอบถามจากผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและแนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนมี 3 ประการ ได้แก่ 1) ปัจจัยการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) กระบวนการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ 3) ความสามารถในการปรับตัวของนักเรียน มี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียน ด้านการอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่น ด้านอารมณ์ส่วนบุคคล และด้านสุขภาพร่างกาย 2. รูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่างประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และองค์ประกอบที่ 3 ความสามารถในการปรับตัวของนักเรียน  3. ผลการประเมินรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่าง พบว่า รูปแบบมีความเป็นไปได้อยู่ระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนth
dc.subjectความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนth
dc.subjectStudent support system management modelen
dc.subjectstudent adaptabilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe management model of student care and support system to promote student adaptability of primary schools in the lower northern regionen
dc.titleรูปแบบการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปรับตัวของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่างth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61031782.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.