Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5945
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaruekawin Wattanaraten
dc.contributorนฤกวิน วัฒนรัตน์th
dc.contributor.advisorChamnan Panawongen
dc.contributor.advisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.available2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5945-
dc.description.abstractThe main objectives of this research were developing the learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques to enhance mathematical problem solving skills on the topic of percentage for grade 7 students. There were sub objectives: 1) To create and find out the efficiency of learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques to enhance mathematical problem solving skills on the topic of percentage for grade 7 with the efficiency value of 75/75. 2) To compare mathematical problem solving skills between before and after learning by Polyas with Socratic questioning techniques on the topic of percentage for grade 7 students. 3) To study the satisfaction about learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques on the topic of percentage for grade 7 students. This research procedure comprised of research and development in divided 3 stages: 1) creating and finding out the efficiency of learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques. 2) Comparing mathematical problem solving skills between before and after learning by Polyas with Socratic questioning techniques. 3) Studying the satisfaction about learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques. This learning activities were considered as appropriate by 6 experts and test of efficiency by using individual, group performance and fieldwork with students of Chainatpittayakom school in academic year 2022 and used Polyas with Socratic questioning techniques fer learning activities with the sample group, 39 grade 7 students of Chainatpittayakom school who were chosen by specific selection method via One Group Pretest Posttest Design. The instrument tools were learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques to enhance mathematical problem solving skills on the topic of percentage for grade 7 students, mathematical problem solving skills tests on the topic of percentage and student satisfaction questionnaire about learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques on the topic of percentage for grade 7 students. The results of this research were as follows: 1.  The result of appropriate learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques to enhance mathematical problem solving skills on the topic of percentage for grade 7 students was, Get 4 activities, each activity consists of 4 steps of Polyas with Socratic questioning techniques in highest levels and the efficiency was 76.56/75.14 2.  Mathematical problem solving skills of grade 7 students after learning by Polyas with Socratic questioning techniques on the topic of percentage was higher than before learning by Polyas with Socratic questioning techniques with statistical significance at the level of .05 3.  The satisfaction of grade 7 students about learning activities by Polyas with Socratic questioning techniques on the topic of percentage was in high levels.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีจุดมุ่งหมายย่อยดังนี้ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เรื่อง ร้อยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เรื่อง ร้อยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส ขั้นตอนที่ 2 การเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส พิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 คน และทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และภาคสนามกับนักเรียนโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม  ปีการศึกษา 2565 แล้วนำการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส มาใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จำนวน 39 คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ และแบบสอบถามความพึงพอใจ ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1.  ผลการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 4 กิจกรรม ในแต่ละกิจกรรมประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนของกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส และมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 4 กิจกรรม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.56/75.14 2.  ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนด้วย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เรื่อง ร้อยละ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.  ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เรื่อง ร้อยละ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาth
dc.subjectเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติสth
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectPolyasen
dc.subjectSocratic questioning techniquesen
dc.subjectMathematical problem solving skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามแบบโสเครติส เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES BY POLYAS WITH SOCRATIC QUESTIONING TECHNIQUES TO ENHANCE MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING SKILLS ON THE TOPIC OF PERCENTAGE FOR GRADE 7 STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChamnan Panawongen
dc.contributor.coadvisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.emailadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NaruekawinWattanarat.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.