Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5941
Title: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
The Development of Learning Activities Based on Game Based Learning with Micro: bit toEnhance computational Thinking Skill for Matthayomsuksa 1 Students
Authors: Jutharat Janngew
จุฑารัตน์ จันทร์งิ้ว
Jakkrit Jantakoon
จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
Naresuan University
Jakkrit Jantakoon
จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
jakkritj@nu.ac.th
jakkritj@nu.ac.th
Keywords: กิจกรรมการเรียนรู้
การเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
Micro: bit
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ
Learning Activities
Game Based Learning
Micro: bit
Computational Thinking Skill
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objectives of this research were 1) to construct and evaluate the efficiency of the learning activity based on game-based learning with Micro: bit to enhance computational thinking skill for Matthayomsuksa 1 students as the criteria of 75/75,2) to compare of learning activity based on game-based learning with Micro: bit to enhance computational thinking skill for for Matthayomsuksa 1 students.  This study was conducted through research and development methodology.  The sample consisted of 30 Mathayomsuksa 1, studying in the first semester of the 2022 at Pa Mai Uthit 4 School, Tak Secondary Educational Service Area Office 2 selected by simple random sampling. This research used one group pretest-posttest design. The research instruments included learning activity based on game-based learning with Micro: bit, lesson plans based on game-based learning with Micro: bit, and computational thinking skill test. Data were analyzed using mean, standard deviation, percentage, and t – test. The research results revealed that: 1. Learning activities based on based on game-based learning with Micro: bit to enhance computational thinking skill for Matthayomsuksa 1 students developed, there were 5 activities: 1) basic algorithm 2) writing algorithm by using natural language 3) writing algorithm by using pseudo code 4) writing algorithm by using flowchart, and 5) computer programming from algorithm. The results of appropriateness of learning activities were at a highest level ( ̅x = 4.65, S.D. = 0.39) and the efficiency was 75.56/73.89, which was in accordance with the specified criteria. 2. Students had computational thinkingskill after learning with learning activities based on based ongame-based learning with Micro: bit to enhance computational thinkingskill for Matthayomsuksa 1 students, it was higher than before learning and statistically significant at the .05 level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงคำนวณ ระหว่างก่อนและหลังเรียน โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดำเนินการวิจัยด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ใช้แบบแผนการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit 2) แบบวัดทักษะการคิดเชิงคำนวณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test แบบ dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ได้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ 1) อัลกอริทึมเบื้องต้น 2) การเขียนอัลกอริทึมด้วยภาษาธรรมชาติ 3) การเขียนอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง 4) การเขียนอัลกอริทึมด้วยผังงาน และ 5) การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากอัลกอริทึม โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นก่อนใช้เกม 2) ขั้นระหว่างใช้เกมร่วมกับ Micro: bit และ 3) ขั้นหลังใช้เกม กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅x= 4.65, S.D. = 0.39)  มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.56/73.89 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีทักษะความคิดเชิงคำนวณหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานร่วมกับ Micro: bit สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5941
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JutharatJanngew.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.