Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5937
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatchara Petclaien
dc.contributorวัชระ เพชรคล้ายth
dc.contributor.advisorArphat Tiaotrakulen
dc.contributor.advisorอาพัทธ์ เตียวตระกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:30:40Z-
dc.date.available2024-01-30T02:30:40Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5937-
dc.description.abstractThe purpose of this research and development is to develop blended learning-based instructional management on Coaching Strategies in Basketball Course for Physical Education Students of National Sports University. The research was conducted in 4 steps as follows: Step 1: Study of conditions and approaches to blended learning management. The sample consisted of 410 students in Physical Education, National Sports University and in-depth interview with a total of 7 key informants. Research tools include questionnaires on blended learning management conditions and interview forms-blended learning management approaches in basketball coach development. Analyze data using averages, standard deviation and content analysis. Step 2: Creating and Validating the Quality of Blended Learning Management. The researcher created and organized a seminar based on nine experts to examine the appropriateness of the components and documentation for learning management. Diagnostic tools include 1) component assessment form, 2) document assessment form, and 3) seminar record form. Analyze data using averages, Standard deviation and content analysis. Step 3: Experiment with blended learning. Subjects include students in physical education, National Sports University, Lampang Campus 35 students were selected by Volunteer Sampling. Research tools include: 1) Basketball coach knowledge assessment before, during and after classes compared using Bonferroni Test 2) Skill assessment form equivalent to 80 percent and 3) before and after attitude assessment and 4) satisfaction questionnaire. And Step 4: Quality of blended learning management. Subjects include students in physical education, National Sports University, Ang Thong Campus 35 students were selected by Volunteer Sampling. Research tools include: 1) Basketball coach knowledge assessment before, during and after classes compared using Bonferroni Test 2) Skill assessment form equivalent to 80 percent and 3) before and after attitude assessment 4) satisfaction questionnaire. And 5) The statistics used in the data analysis are average, standard deviation, Dependent Samples t – test and One-way repeated measure ANOVA and analyze the content. The results of the research were as follows: 1. The National Sports University found that the overall level for Blended Learning management in Basketball Coaches Development for Physical Education Students is high. Learning management guidelines find that the content must be up-to-date and comprehensive, use a variety of auxiliary technologies and apply them appropriately. 2. Blended learning management, based on the IKCPP MODEL, which compose of 5 steps: 1) Introductory 2) Knowledge sharing 3) Checking Understanding 4) Product design and 5) Process of reflect: 5 topics and 15 learning management plans. Assessment results of the composition and documentation of blended learning management show that overall performance was at a high level. 3. Coaching Knowledge Test Results Lampang Campus, there was a statistically significant difference between week 6 and after class at .05. Trainer Skills Results found that Lampang Campus has 32 students who met the 80% criteria and there are 3 people disqualify. And attitudes towards a trainer found that after studying was statistically significantly higher than before studying at .05. Students were satisfied with blended learning. It was found that the overall average was at a high level. 4. Quality of blended learning management, Ang Thong Campus found that, there was a statistically significant difference between week 6 and after class at .05. Trainer Skills Results found that Lampang Campus has 30 students who met the 80% criteria and there are 5 people disqualify. And attitudes towards a trainer found that after studying was statistically significantly higher than before studying at .05. Students were satisfied with blended learning. It was found that the overall average was at a high level. And the results of the improvement of blended learning management show that add teaching materials, Communication channels and interaction between learners and instructors.en
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสานรายวิชากลวิธีการฝึกกีฬาบาสเกตบอลสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัย การกีฬาแห่งชาติ การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและแนวทาง การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ จำนวน 410 คน และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และแบบสัมภาษณ์แนวทาง การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยผู้วิจัยสร้างองค์ประกอบและเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ 9 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินองค์ประกอบ 2) แบบประเมินเอกสาร และ 3) แบบบันทึกการสัมมนา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้ การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานกับนักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ  วิทยาเขตลำปาง จำนวน 35 คน ได้มาด้วยการเลือกแบบอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความรู้การเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 2) แบบประเมินทักษะการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอล เทียบเกณฑ์ร้อยละ 80 3) แบบประเมินเจตคติก่อนและหลังเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ และขั้นตอนที่ 4 การหาคุณภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานกับนักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ  วิทยาเขตอ่างทอง จำนวน 35 คน ได้มาด้วยการเลือกแบบอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความรู้การเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 2) แบบประเมินทักษะการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอล เทียบเกณฑ์ร้อยละ 80  3) แบบประเมินเจตคติก่อนและหลังเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ และ 5) แบบสัมภาษณ์เพื่อการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (Dependent Samples t –test) และ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-way repeated measure ANOVA) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธี Bonferroni และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาบาสเกตบอลสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ  พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากแนวทาง การจัดการเรียนรู้ พบว่า เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่ทันสมัยและครอบคลุม ใช้เทคโนโลยีเสริม ที่หลากหลาย และประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 2. การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ยึดรูปแบบการจัดการเรียนรู้  IKCPP MODEL ที่สร้างขึ้น มี 5 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นเข้าสู่บทเรียน (Introductory) 2) ขั้นแลกเปลี่ยนสร้างองค์ความรู้ (Knowledge sharing) 3) ขั้นตรวจดูความเข้าใจ (Checking Understanding) 4) ขั้นสร้างชิ้นงานขึ้นใหม่ (Product design) 5) ขั้นแถลงไขความคิด (Process of reflect) ประกอบด้วย 5 สาระ และ 15 แผนจัดการเรียนรู้ผลการประเมินองค์ประกอบและเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการทดสอบความรู้การเป็นผู้ฝึกสอน พบว่า วิทยาเขตลำปาง ก่อนเรียน ระหว่างเรียนสัปดาห์ที่ 6 และหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินทักษะ ผู้ฝึกสอนโดยกำหนดเกณฑ์ร้อยละ 80 พบว่า วิทยาเขตลำปาง ผ่านเกณฑ์ จำนวน 32 คน ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 3 คน ผลเจตคติต่อการเป็นผู้ฝึกสอนพบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 4. ผลการหาคุณภาพการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน พบว่า วิทยาเขตอ่างทอง ก่อนเรียน ระหว่างเรียนสัปดาห์ที่ 6 และหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินทักษะผู้ฝึกสอนโดยกำหนดเกณฑ์ร้อยละ 80 พบว่าวิทยาเขตอ่างทอง ผ่านเกณฑ์ จำนวน 30 คน ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 คน ผลเจตคติต่อการเป็นผู้ฝึกสอนพบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลความพึงพอใจต่อจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และผลการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานพบว่า ควรเพิ่มสื่อการเรียนการสอน ช่องทางการสื่อสาร และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานth
dc.subjectกลวิธีการฝึกกีฬาบาสเกตบอลth
dc.subjectนักศึกษาสาขาพลศึกษาth
dc.subjectมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติth
dc.subjectblended learning managementen
dc.subjectbasketball training strategiesen
dc.subjectPhysical education studentsen
dc.subjectNational Sports Universityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานรายวิชากลวิธีการฝึกกีฬาบาสเกตบอลสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติth
dc.titleA DEVELOPMENT OF BLENDED LEARNING-BASED INSTRUCTIONAL MANAGEMENT ON "COACHING STRATEGIES IN BASKETBALL" COURSE FOR PHYSICAL EDUCATION STUDENTS OF THAILAND NATIONAL SPORTS UNIVERSITYen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorArphat Tiaotrakulen
dc.contributor.coadvisorอาพัทธ์ เตียวตระกูลth
dc.contributor.emailadvisorarphatt@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorarphatt@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Physical Education and Exercise Scienceen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WatcharaPetclai.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.