Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5836
Title: การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา
DEVELOPMENT OF TRAINING CURRICULUM FOR ENHANCING INNOVATION AND TECHNOLOGY COMPETENCY IN PHYSICAL EDUCATION LEARNING MANAGEMENT FOR PHYSICAL EDUCATION STUDENTS
Authors: Natthawut Chimma
ณัฐวุฒิ ฉิมมา
Pufa Savagpun
ภูฟ้า เสวกพันธ์
Naresuan University
Pufa Savagpun
ภูฟ้า เสวกพันธ์
pufas@nu.ac.th
pufas@nu.ac.th
Keywords: การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม
สมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา
นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา
The Training Curriculum Development
Physical Education Students
The Competency in Innovation and Technology for Physical Education Learning Management
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objective of this research and development was to develop a training curriculum to enhance competency in innovation and technology for physical education learning management. The research was divided into 3 phases. Phase 1) Studying the needs in enhancing competency in innovation and technology for physical education learning management. Data were collected from 432 physical education students in the 1st – 4th year of 13 universities in the northern region by stratified random sampling. Phase 2) Creating and developing a training curriculum to enhance competency in innovation and technology for physical education learning management as well as organizing seminars based on 8 experts were used to assess the quality of the curriculum and its supporting documents before applying the curriculum to the actual training. Phase 3) Experimenting and studying the results of using the training curriculum and competency assessment to enhance competency in innovation and technology for physical education learning management in terms of knowledge, characteristics, practical skills and assessing satisfaction with the training course. The sample consisted of 30 students from the department of Physical Education, Uttaradit Rajabhat University, acquired by purposive sampling. The results showed that: 1. The enhancing competency in innovation and technology for physical education learning management is needed at a high level. (PNI Modified equated to 0.300). 2. The result of creation and development of the training curriculum revealed that there were 6 curriculum components including (1) Principles of the curriculum, (2) Objectives, (3) Content, (4) Training activities and methods, (5) Curriculum materials, and (6) Curriculum evaluation. Additionally, there were 2’ parts of the curriculum documents, namely (1) Manual for using the training curriculum and (2) plan of training activity. From the quality assessment by experts, it was found that training curriculum and curriculum documents correctness and appropriateness, and usefulness and possibilities were at the highest level, (Average = 4.61, S.D. = 0.42) and (Average = 4.55, S.D. = 0.45) respectively. 3. Physical education students had scores for innovation and technology competency in physical education learning management in each aspect as follows:    3.1 Knowledge after the training was higher than before the training with statistically significant at the .05.    3.2 Characteristics was at good level.    3.3 Practical skills was at medium level.    3.4 The physical education students were satisfied with the training curriculum at the highest level.
การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษาดำเนินการวิจัย 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา ชั้นปีที่ 1 – 4 คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือ 13 แห่ง จำนวน 432 คน ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ระยะที่ 2 การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม เอกสารประกอบหลักสูตร และการจัดสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 8 คน เพื่อประเมินคุณภาพหลักสูตร ก่อนนำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้จริง ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา และการประเมินความรู้ คุณลักษณะ ทักษะการปฏิบัติ และการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อหลักสูตรฝึกอบรม ของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จำนวน 30 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 1. การเสริมสร้างสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา มีความต้องการจำเป็นในระดับมาก (PNI Modified เท่ากับ 0.300) 2. ผลการสร้างและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม พบว่ามีองค์ประกอบของหลักสูตร 6 ด้าน ได้แก่ (1) หลักการของหลักสูตร (2) วัตถุประสงค์ (3) เนื้อหาสาระ (4) กิจกรรมและวิธีที่ใช้ในการฝึกอบรม (5) สื่อที่ใช้ในหลักสูตร (6) การประเมินผลหลักสูตร และ เอกสารประกอบหลักสูตร 2 ส่วน คือ (1) คู่มือแนวทางการใช้หลักสูตรฝึกอบรม (2) แผนการจัดกิจกรรมฝึกอบรม ผลจากการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า หลักสูตรฝึกอบรมและเอกสารประกอบหลักสูตร มีความถูกต้องเหมาะสม ความเป็นประโยชน์และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด 3. นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษามีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแต่ละด้าน ดังนี้    3.1 ด้านความรู้ (Average = 49.80, S.D. = 3.10) สูงกว่าก่อนการฝึกอบรม (Average = 28.80, S.D. = 7.35) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05    3.2 ด้านคุณลักษณะอยู่ในระดับดี (Average = 2.72, S.D. = 0.43)    3.3 ด้านทักษะการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง (Average = 2.34, S.D. = 0.57)    3.4 ด้านความพึงพอใจที่มีต่อหลักสูตรฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5836
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NatthawutChimma.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.