Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuchanart Suthakarnen
dc.contributorนุชนาถ สุทธการth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:57Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:57Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5828-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop a model of supervising highland schools in the wilderness area to promote the efficiency of teachers’ learning management. The research methodology was divided into 3 steps: Step 1: studying conditions and guidelines for supervising highland schools in the wilderness area to promote the efficiency of teachers' learning management. The informants were 10 school administrators. The research tools were an interview and a study on the school supervision of highland schools in the wilderness area. The data sources were 5 experts and 3 schools with good practice. The research tool was an interview. Step 2: creating and examining the model of supervising highland schools in the wilderness area to promote the efficiency of teachers' learning management. The informants were 9 experts. The research tool was a form for checking the suitability of the draft model. Step 3: assessing the feasibility and usefulness of the model of supervising highland schools in the wilderness area to promote the efficiency of teachers' learning management. The informants were 100 school administrators of highland schools in the wilderness area. The research tool was a form for evaluating the feasibility and usefulness of the supervision model. The data were analyzed by using mean and standard deviation. The research results are shown below.   The model of supervising highland schools in the wilderness area to promote the efficiency of teachers' learning management consisted of 6 elements: Element 1 aims of supervision consisting of 1.1 teacher quality and 1.2 learner quality, Element 2 planning and preparation for supervision consisting of 2.1 analysis of problems and needs for supervision, 2.2 preparation of a supervision plan, 2.3 selection of supervisors, and 2.4 supervision tools, Element 3 supervision consisting of 3.1 implementation of the supervision plan, 3.2 supervision methods and supervision techniques, and 3.3 motivation and assistance to supervisees, Element 4 evaluation and supervision report consisting of 4.1 monitoring supervision, 4.2 concluding and evaluating supervision, and 4.3 reporting and expanding supervision, Element 5 efficiency of teachers' learning management consisting of 5.1 teacher efficiency and 5.2 student efficiency, and Element 6 success factors of supervision consisting of 6.1 support from administrators and 6.2 network cooperation. The results of the model evaluation revealed that the feasibility and usefulness were at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและแนวทางการนิเทศโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ และการศึกษาแนวทางการนิเทศโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร แหล่งข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี จำนวน 3 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและการตรวจสอบรูปแบบ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบตรวจสอบความเหมาะสมของร่างรูปแบบ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยพบว่า รูปแบบการนิเทศโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครู  มี  6  องค์ประกอบ  ได้แก่  องค์ประกอบที่ 1 จุดมุ่งหมายของการนิเทศ ประกอบด้วย 1.1 คุณภาพครู 1.2 คุณภาพผู้เรียน องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนเตรียมการนิเทศ ประกอบด้วย 2.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการในการนิเทศ 2.2 การจัดทำแผนการนิเทศ 2.3 การคัดเลือกผู้นิเทศ 2.4 เครื่องมือการนิเทศ องค์ประกอบที่ 3 การดำเนินการนิเทศ ประกอบด้วย 3.1 การลงมือปฏิบัติตามแผนนิเทศ 3.2 วิธีการนิเทศและเทคนิคการนิเทศ 3.3 การกระตุ้นและการช่วยเหลือผู้รับการนิเทศ องค์ประกอบที่ 4 การประเมินและรายงานผลการนิเทศ ประกอบด้วย 4.1 การกำกับติดตามการนิเทศ 4.2 การสรุปผลและประเมินผลการนิเทศ 4.3 การรายงานและการขยายผลการนิเทศ องค์ประกอบที่ 5 ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5.1 ประสิทธิภาพด้านครู 5.2 ประสิทธิภาพด้านนักเรียน องค์ประกอบที่ 6 ปัจจัยความสำเร็จของการนิเทศ ประกอบด้วย 6.1 การสนับสนุนจากผู้บริหาร 6.2 ความร่วมมือของเครือข่าย ผลการประเมินรูปแบบ พบว่า มีความประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการนิเทศth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารth
dc.subjectSupervisionen
dc.subjectLearning Managementen
dc.subjectHighland Schools in the Wilderness Areaen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleรูปแบบการนิเทศโรงเรียนบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครูth
dc.titleA MODEL OF SUPERVISING HIGHLAND SCHOOLS IN THE WILDERNESS AREA TO PROMOTE THE EFFICIENCY OF TEACHERS’ LEARNING MANAGEMENTen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJitima Wannasrien
dc.contributor.coadvisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.emailadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NuchanartSuthakarn.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.