Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanchalita Jalerphonen
dc.contributorกัญชลิตา เจริญผลth
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.available2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5682-
dc.description.abstractThis research aims to study learning implementation that promotes mathematical reasoning and mathematical communication abilities of grade 6 students in triangles by the mathematical arguments learning approach. The research participants were 16 students at the Opportunity Expansion School in Kamphaeng Phet province. This research used four spiral cycles of the classroom action research model. The research instruments were 1) lesson plans, 2) reflective journals, 3) worksheets, 4) Mathematical reasoning and communication abilities test, and 5) observation form. Data were analyzed by content analysis, and checked for trustworthiness by method triangulation. The results that during learning activities teachers should define problem situations that variety of guesses, and use open-ended questions to encourage students to conjecturing, justify, and conclude. In addition, teachers should create a positive learning atmosphere. This will increase argumentation in classroom. As a result, students developed mathematical reasoning and mathematical communication abilities when they had learned through the mathematical arguments learning approach in triangles according to 1 2 3 and 4 cycles.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลและการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง รูปสามเหลี่ยม ผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้มีจำนวน 16 คน เป็นนักเรียนของโรงเรียนขยายโอกาสแห่งหนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน จำนวน 4 วงจรปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ใบกิจกรรม 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลและความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และ 5) แบบสังเกตความสามารถการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า ในระหว่างกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรกำหนดสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้เกิดการคาดเดาที่หลากหลายและครูควรใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคาดเดา ให้เหตุผล และสรุป นอกจากนี้ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เชิงบวก ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการโต้แย้งในชั้นเรียนส่งผลให้นักเรียนสามารถให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น เมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ เรื่อง รูปสามเหลี่ยม ตามวงจรปฏิบัติการที่ 1 2 3 และ 4 ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectความสามารถในการให้เหตุผลth
dc.subjectความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectmathematical arguments learning approachen
dc.subjectmathematical reasoning abilityen
dc.subjectmathematical communication abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลและการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง รูปสามเหลี่ยม โดยการจัดการเรียนรู้แบบการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์th
dc.titlePROMOTING MATHEMATICAL REASONING AND MATHEMATICAL COMMUNICATION ABILITIES OF GRADE 6 STUDENTS IN TRIANGLES BY MATHEMATICAL ARGUMENTS LEARNING  APPROACHen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.coadvisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.emailadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KanchalitaJalerphon.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.