Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThawat Sonngaideeen
dc.contributorธวัช สอนง่ายดีth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-04-18T03:00:06Z-
dc.date.available2023-04-18T03:00:06Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5360-
dc.description.abstractThe main objective of research is to develop a model for developing counselor teachers in educational institutions under the office of vocational education commission. The research was divided into the 3 stages as follows: Step 1.1: Study of elements foundation and guidelines for developing counselor teachers in educational institutions by synthesis documents. Step 1.2: Study guidelines for training and development of counselor teachers by interview a group of five qualified experts. Step 1.3: Study guidelines for counselor teachers from the three best practices institutions by interviewing executives and teachers, Step 2 Creation and examination of the model Step 2.2 approved the model by Focus Group Discussion, of nine experts. Step 3 assess the feasibility and usefulness of the model the sample were 205 administrators and teachers, The tools used for data collection were questionnaires a 5-level rating scale. The results showed that the model of development of counselor teachers in educational institutions under the office of vocational education commission consists of 4 components;  Component 1, the input factors, which consists of policy, organizational culture, organizational structure, the role of the leader, the budget, the role of external agencies. and the atmospheric environment. Component 2 Method of teacher development, consists of self-development. development by educational institutions and development by action. The third component 3 the process of teacher advisor development, consists of setting goals, planning, implementing plans. reflection of development and finding guideline to improve, Component 4: Characteristics of a teacher advisor consisted of knowledge, skills, personality, morality, and liability. like to learners The evaluation model showed that the feasibility is at the highest level and the usefulness is at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูที่ปรึกษาในlสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การ ศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา ประกอบด้วย 3 ขั้นย่อย ขั้นที่ 1.1 การศึกษาองค์ประกอบการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา โดยการสังเคราะห์เอกสาร ขั้นที่ 1.2 การ ศึกษาแนวทางการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ซึ่งใช้แบบสัมภาษณ์ ขั้นที่ 1.3 การศึกษาแนวทางการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา ประกอบด้วย 2 ขั้นย่อย ขั้นที่ 2.1 การยกร่างรูปแบบ ขั้นที่ 2.2 การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ โดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ ของรูปแบบกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้อำนวยการ ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 205 คน ซึ่งใช้แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบาย ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านโครงสร้างขององค์กร ด้านบทบาทของผู้นำ ด้านงบประมาณ ด้านบทบาทของหน่วยงานภายนอก และด้านบรรยากาศสภาพแวดล้อม องค์ประกอบที่ 2 วิธีการพัฒนาครู ประกอบด้วย 3 วิธีการ ได้แก่ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาโดยสถานศึกษา และการพัฒนาโดยลงมือปฏิบัติงาน องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการพัฒนาครูที่ปรึกษา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การกำหนดเป้าหมาย การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การสะท้อนผลการพัฒนา และการหาแนวทางปรับปรุง องค์ประกอบที่ 4 คุณลักษณะของครูที่ปรึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านบุคลิกภาพ ด้านคุณธรรม และด้านความรับผิดชอบต่อผู้เรียน ผลการประเมินพบว่ารูปแบบมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นประโยชน์ก็อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการพัฒนาth
dc.subjectครูที่ปรึกษาth
dc.subjectการอาชีวศึกษาth
dc.subjectDevelopment Modelen
dc.subjectCounselor Teacheren
dc.subjectVacational Educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleรูปแบบการพัฒนาครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอาชีวะศึกษาth
dc.titleThe Model For Development The Counselor Teachers Educational Institutions Under the Office Of The Vocational Education Commissionen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJitima Wannasrien
dc.contributor.coadvisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.emailadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ThawatSonngaidee.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.