Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5295
Title: ปัจจัยในการกำหนดราคาเครื่องดื่มฟังก์ชันนัลดริ้งค์ โดยแบบจําลอง Hedonic Pricing Model
Factors Determining the Price of Functional drink using Hedonic Pricing Model
Authors: CHANAPHAT SRITHADA
ฌาณพรรธน์ ศรีธาดา
Phakjira Nugbanleng
ภัคจิรา นักบรรเลง
Naresuan University
Phakjira Nugbanleng
ภัคจิรา นักบรรเลง
pakchiran@nu.ac.th
pakchiran@nu.ac.th
Keywords: แบบจำลองราคาฮีดอนนิค
เครื่องดื่มฟังก์ชันนัลดริ้งค์
Hedonic Price Model
Functional Drink
Issue Date: 2564
Publisher: Naresuan University
Abstract: This research has main objectives to factors determining the prices of functional drinks in department stores and convenience stores in Mueang District, Phitsanulok Province. based on price information and product characteristics. During the period from November 2021 to January 2022, using the Hedonic Price Model and multiple regression analysis (OLS technique), the results showed that the negatively factors determining the prices were: size, sodium, sugar, vitamin C, vitamin A, zinc, Energy Drink, low sugar labeling or low-calorie, low shelf display and above eye level. Meanwhile the positive factors were: collagen and L-glutathione. The results indicate that consumers paid premium prices for some attributes, nutrition information.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ใช้ในการกำหนดราคาของเครื่องดื่มฟังก์ชันนัลดริ้งค์ โดยอาศัยข้อมูลราคา และคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มฟังก์ชันนัลดริ้งค์ที่วางจําหน่ายในห้างสรรพสินค้าชั้นนำ และร้านค้าสะดวกซื้อในเขตพื้นที่ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก  ในช่วงเดือนพฤศจิกายน  พ.ศ. 2564  ถึงเดือนมกราคม  พ.ศ. 2565 โดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองฮีดอนนิค การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณด้วยเทคนิควิธีกำลังสองน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับราคา ได้แก่ ขนาด โซเดียม น้ำตาล วิตามินซี วิตามินเอ สังกะสี เครื่องดื่มประเภทชูกำลัง การระบุข้อความมีน้ำตาลน้อย หรือแคลอรี่ต่ำ ชั้นวางแสดงสินค้าระดับที่ต่ำ และสูงกว่าระดับสายตา ในขณะปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับราคา ได้แก่ คอลลาเจน และแอล กลูตาไธโอน ผลการศึกษาจึงชี้ให้เห็นว่า ผู้บริโภคจ่ายราคาส่วนเพิ่มให้กับข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการ
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5295
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ChanaphatSrithada.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.