Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPATIMA CHUMRAMen
dc.contributorปฏิมา ชุมรำth
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5075-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study a STEM-based learning approach promoting problem solving skills in Grade 6 students in the electrical topic. The research participants were 43 students, and the research instruments included the lesson plans, the problem solving skills test, the problem-solving skills observation form, and the reflective journal. Content analysis, descriptive statistics, frequency, percentage, and triangulations were used to analyze the data. The research results indicated that the ways to develop problem-solving skills were through applying situations related to everyday life and using challenging learning tasks that included planning and producing a piece of work, testing its results and effects, and encouraging students to evaluate their ideas with argumentation. The students continually improved their problem solving skills, and most students appeared to have the best problem solving skills in problem identification.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมการแก้ปัญหา เรื่องไฟฟ้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเพื่อศึกษาพัฒนาการทางทักษะการแก้ปัญหา ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ และแบบสังเกตทักษะการแก้ปัญหา  วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา สถิติบรรยาย ความถี่ ร้อยละ และการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาได้ คือ การกำหนดสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน การกำหนดภาระงานที่ท้าทายในชั้นเรียน ได้แก่ การวางแผนและสร้างชิ้นงาน การทดสอบผลการแก้ปัญหา และการกระตุ้นให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้พบว่า นักเรียนพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้พฤติกรรมขั้นระบุปัญหาเป็นขั้นที่นักเรียนสามารถแสดงทักษะออกมาได้สูงที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาth
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาth
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectProblem solving skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เรื่องไฟฟ้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 th
dc.titleA STEM-based learning approach promoting problem solving skills of Grade 6 students in the electrical topicen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090602.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.