Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNIPAPORN PHIANGCHANen
dc.contributorนิภาพร เพียงจันทร์th
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5074-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis action research aimed 1) to investigate the ways of using the STEM learning approach to foster students' collaborative problem solving competencies; and 2) to study their competency development on geohazard topics. The participants included 35 grade twelve students. The STEM learning approach consists of five steps: 1) Identify a Challenge, 2) Explore Ideas, 3) Plan and Develop, 4) Test and Evaluate, and 5) Present the Solution. The researcher implemented that by using lesson plans, and collected data through the reflective form, observation and evaluation forms, and learning tasks. In this research, three PAOR cycles were run continuously, a content analysis technique was used along with method triangulation. The result reveals that the STEM approach must focus on students’ practice through group activities with problematic situations and conditions to challenge students’ competencies. It was found that most students developed their competencies in establishing and maintaining shared understanding, maintaining team organization, and taking appropriate action to solve the problem, respectively.en
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ มุ่งศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และศึกษาพัฒนาการทางสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรณีภัยพิบัติ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียน จำนวน 35 คน แนวทางการจัดการเรียนรู้มี 5 ขั้น ได้แก่ 1) การระบุปัญหา 2) การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 3) ออกแบบ วางแผนและพัฒนา 4) การทดสอบและประเมินผล 5) การนำเสนอผลลัพธ์ ผู้วิจัยดำเนินการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ จากนั้นเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ แบบสังเกตและแบบประเมินสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และแบบประเมินชิ้นงาน การวิจัยเป็นวิจัยปฏิบัติการนี้ประกอบด้วย วงจร PAOR ต่อเนื่องกัน 3 วงจร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาและตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาควรเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติผ่านการทำกิจกรรมกลุ่มโดยมีสถานการณ์ปัญหาและเงื่อนไขที่ท้าทายความสามารถของนักเรียน ทั้งนี้ ยังพบว่า สมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือที่พัฒนามากที่สุดไปหาน้อยสุด ได้แก่ การสร้างและเก็บรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม และการเลือกวิธีการดำเนินการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาth
dc.subjectสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019th
dc.subjectธรณีพิบัติภัยth
dc.subjectSTEM learning approachen
dc.subjectCollaborative Problem solving competencyen
dc.subjectCoronavirus disease 2019 epidemic situationen
dc.subjectGeohazarden
dc.subject.classificationEarth and Planetary Sciencesen
dc.subject.classificationEarth and Planetary Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่อง ธรณีพิบัติภัย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในช่วงสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019th
dc.titleENHANCING COLLABORATIVE PROBLEM SOLVING COMPETENCY USING STEM LEARNING APPROACH ON GEOHAZARD OF GRADE 12 STUDENTS DURING THE CORONAVIRUS DISEASE 2019 EPIDEMIC SITUATIONen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090558.pdf4.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.