Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5041
Title: รูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเชิงบูรณาการกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม บนถนนราชดำเนินจังหวัดนครศรีธรรมราช
Local history integrated learning management model of religion and cultural area along the Ratchadamnoen avenue, Nakorn Si Thammarat province
Authors: TUN CHAN-UDOM
ตุลย์ จันทร์อุดม
Atchara Sriphan
อัจฉรา ศรีพันธ์
Naresuan University. Faculty of Education
Keywords: รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
learning management
Local history
religion and cultural area along
Issue Date: 2564
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objectives of this research are 1) To study the present historical learning management model of Rachadamnoen avenue in Nakhon Si Thammarat province 2) To create local historical learning management model of Rachadamnoen avenue, Nakhon Si Thammarat province that integrate with religion and culture subject. This research is qualitative research. The informants are 16-18 years old students and teachers who have experience in teaching history for more than two years. Scope of this research in term of long of Rachadamnoen avenue in Mueng district of Nakhon Si Thammarat, from Sala Meechai intersection (the beginning of the avenue) to the Forth Army Base (Wachirawut camp). We found from the research results that The right local historical learning management model that could integrate with religion and culture subject of the Rachadamnoen avenue in Nakon Srithammarat is Mong Seup Yeun learning model. This model can be separated into 3 steps: Mong (to look) step by applying A: Autonomous Teacher process - the learning management inside and outside the classroom (real environment) through historical methods; Suep (to extend) step by applying C: conservative innovation - the learning management through round table focus group with the use of critical questions and Yuen (to sustain) step by applying C: Conservative innovation - the learning management through innovative process of conservation. The research results indicate at the end  that the Mong Seup Yeun learning model above should go through the ACC learning management process.
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงเพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์บนถนนราชดำเนินจังหวัดนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน 2) เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเชิงบูรณาการกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมบนถนนราชดำเนินจังหวัดนครศรีธรรมราชที่เหมาะสม เป็นวิจัยเชิงคุณภาพที่มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นนักเรียนอายุ 16-18 ปี และครูที่มีประสบการณ์การสอนในวิชาประวัติศาสตร์ อย่างน้อย 2 ปี โดยมีขอบเขตการวิจัยด้านพื้นที่ คือ ถนนราชดำเนิน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่สี่แยกศาลามีชัย (หัวถนน) ถึง กองทัพภาคที่ 4 (ค่ายวชิราวุธ) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเชิงบูรณาการกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมบนถนนราชดำเนินจังหวัดนครศรีธรรมราชที่เหมาะสมคือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มอง สืบ ยืน (Mong Seup Yeun Learning Model) แบ่งการเรียนรู้เป็น 3 ขั้น คือ ขั้นมอง A (Autonomous Teacher) เป็นการจัดการเรียนรู้ภายในห้องเรียนและการลงพื้นที่จริงผ่านวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นสืบ C (Cultural Transmission) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการอภิปรายกลุ่มย่อยแบบโต๊ะกลม ร่วมกับการตั้งคำถามเชิงวิพากษ์ ขั้นยืน C (Conservative Innovation) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการสร้างนวัตกรรมเพื่อการอนุรักษ์ โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มอง สืบ ยืน (Mong Seup Yeun Learning Model) ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ACC (ACC Learning Management)
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5041
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061031.pdf6.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.