Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4059
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKALLAYANEE RATTANABUTen
dc.contributorกัลยาณี รัตนบุตรth
dc.contributor.advisorChalong Chatruprachewinen
dc.contributor.advisorฉลอง ชาตรูประชีวินth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-11-16T03:47:55Z-
dc.date.available2021-11-16T03:47:55Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4059-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to develop a management system model of quality for student affair in school under primary educational service area office. The research procedure followed 3 steps. The first step is studying guidelines of quality system management in student affair department of primary educational service area office via studying quality system management of 4 private sectors and state enterprises which won a prize Thailand quality award and studying guidelines of quality system management in student affair department of primary educational service area office by means of interviews 5 school administrators with best practice in field of student affair. The second step is creating and verifying the model propriety by mean of content analysis via 12 experts. The third step is evaluating of a management system model of quality for student affair in school under primary educational service area office. The sample consisted of 362 school administrators and head of student affair under the primary educational service area office, in Lower North Region by means of Stratified sampling. The data was analyzed by mean and standard deviation. The finding are as follows a management system model of quality for student affair in school under primary educational service area office consisted of 6 compositions: 1) Principle and objective of student affair quality system management. 2) Student affair quality system management structure. 3) Student affair quality system management process. 4) Student affair quality system management implementation committee development. 5) Bringing technology to support student affair quality system management. 6) Successful Factors of student affair quality system management. The model propriety evaluation via experts is at a highest level. The evaluation of the feasibility and profitability found that the propriety of usage was at a high level and the profitability was at a highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาแนวทางการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยการศึกษาแนวทางการบริหารระบบคุณภาพในหน่วยงานเอกชนและรัฐวิสาหกิจที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ จำนวน 4 แห่ง โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารหน่วยงาน และการศึกษาแนวทางการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านงานกิจการนักเรียน ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 362 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา  ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ  ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 หลักการและวัตถุประสงค์การบริหารคุณภาพงานกิจการนักเรียน องค์ประกอบที่ 2 โครงสร้างการบริหารคุณภาพงานกิจการนักเรียน องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียน องค์ประกอบที่ 4 การพัฒนาคณะกรรมการดำเนินงานบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียน องค์ประกอบที่ 5 การนำเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียน และองค์ประกอบที่ 6 ปัจจัยความสำเร็จของการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียน ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อนำรูปแบบไปประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ พบว่าความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ อยู่ในระดับมาก th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการบริหารระบบคุณภาพth
dc.subjectงานกิจการนักเรียนth
dc.subjectประถมศึกษาth
dc.subjectA Management System Model of Qualityen
dc.subjectStudent Affairen
dc.subjectPrimaryen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการบริหารระบบคุณภาพงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาth
dc.titleA MANAGEMENT SYSTEM MODEL OF QUALITY FOR STUDENT AFFAIR IN SCHOOL UNDER PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICEen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61030174.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.