Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTIPPAWUN THAVORACHOTen
dc.contributorทิพวรรณ ถาวรโชติth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-07T03:26:22Z-
dc.date.available2021-09-07T03:26:22Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3380-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to examine a model of supervision via a collaborative network to promote the effectiveness of school under the office of the secondary educational service area. There were 3 steps of this research operation; 1) Studying the composition and approach of supervision via a collaborative network to promote the effectiveness of school under the office of the secondary educational service area through document, research and interviewing school administrators from schools with best practice and experts, which was purposive sampling. The data was analyzed by content analysis. 2) Establishing and verifying the appropriate of models via 9 experts and content analysis. 3) The model of supervision via a collaborative network to promote the effectiveness of school under the office of the secondary educational service area was evaluated by 90 educational supervisors and school administrators. The data was analyzed by mean and standard deviation. The results of this research consisted of 3 compositions: 1) the collaborative network 2) supervision process 3) effectiveness of supervision. Evaluation result of a model found that the possibility was at a high level and the profitability was at a highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาดำเนินการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา จากการวิเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี และผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การตรวจสอบร่างรูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 3) การประเมินรูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ศึกษานิเทศก์และผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 90 คน สุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 เครือข่ายความร่วมมือ องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการนิเทศ องค์ประกอบที่ 3 ประสิทธิผลของการนิเทศ และผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ พบว่า มีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการนิเทศการศึกษาth
dc.subjectSupervision Cooperative network Schoolen
dc.subjectเครือข่ายความร่วมมือth
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาth
dc.titleTHE SUPERVISION MODEL OF COOPERATIVE NETWORK TO PROMOTE THE SCHOOL EFECTIVENESS UNDER THE SECONDARY en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61030440.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.