Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6537
Title: | การศึกษาภาวะผู้นำและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 3 A STUDY DIGITAL LEADERSHIP AND GUIDELINES FOR DEVELOPING DIGITAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE PHITSANULOK PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3 |
Authors: | Netchanok Kaewkrom เนตรชนก แก้วกรม Jitima Wannasri จิติมา วรรณศรี Naresuan University Jitima Wannasri จิติมา วรรณศรี jitimaw@nu.ac.th jitimaw@nu.ac.th |
Keywords: | ภาวะผู้นำดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษา, การพัฒนาภาวะผู้นำ Digital Leadership School Administrators Leadership Development |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purpose of this study was to examine and compare digital leadership of school administrators under the Phitsanulok primary educational service area office 3 that has 1,418 population of school administrators. The sample used in this study were 306 school administrators and teachers which were selected by stratified random sampling according to the proportion of school administrators and teachers in each district. The statistics used analyzing data were mean and standard deviation. The instruments used collecting data was the digital leadership questionnaire of school administrators under the Phitsanulok primary educational service area office 3 and The instruments used collecting data was the digital leadership development guidelines of school administrators by interview forms under the Phitsanulok primary educational service area office 3 and used analyzing data by content analysis. The results showed as follows; 1. The overall of digital leadership of school administrators under the Phitsanulok primary educational service area office 3 were at a highest level. Considering each aspect ordered from the highest mean to the lowest mean, they were teachers’ digital competency development (the highest level), individual digital competency development (the lowest level), respectively. 2. Results of a study on the development of digital leadership of school administrators found administrators should establish policies that promote the use of technology accept and adjust their own behavior of using technology ,stablishment of a technology personnel development working group and are role models for digital self-improvement and promote the arrangement of digital learning resources in educational institutions. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 3 โดยมีประชากรเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนจำนวน 1,418 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 306 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงและเครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครู และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของตนเอง 2. ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารควรมีการกำหนดนโยบายที่ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ผู้บริหารยอมรับและปรับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีของตนเอง จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีและผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการพัฒนาตนเองด้านดิจิทัล ส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ทางดิจิทัลในสถานศึกษา |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6537 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NetchanokKaewkrom.pdf | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.