Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaruchin Phojengen
dc.contributorนฤชินท์ โพธิ์แจ้งth
dc.contributor.advisorAngkana Onthaneeen
dc.contributor.advisorอังคณา อ่อนธานีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-12-11T02:45:45Z-
dc.date.available2024-12-11T02:45:45Z-
dc.date.created2567en_US
dc.date.issued2567en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6527-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to 1) create and evaluate the efficiency of Learning Activities by Using Problem-based Learning collaborate Place-Based Learning for 3rd Grade Students following 75/75 2) to compare environmental literacy by using problem-based learning collaborate place-based learning. Using 2 steps of research and development method were as follows; The first step was that created and evaluated the efficiency of learning activities by using problem-based learning collaborate place-based learning for grads 3 students. The learning activities were certified by 3 experts then tried out with 3 students at Banyangmuang School in order to consider the appropriateness of content, language and time. After revised, it was tried out with 9 students for studying efficiency of learning activities to standard criteria 75/75. The research instruments applied in the research include learning activities by using problem-based learning collaborate place-based learning for grads 3 students. The data were analyzed by mean standard deviation and E1/E2 The second step was to compare environmental literacy between pretest and posttest through learning activities by using problem-based learning collaborate place-based learning to enhance environmental literacy. The sample group was 16 of Grads 3 students of Banpakklongrua (Photanod) School in the first semester of academic year 2022 to simple purposive sampling. The research design was One-Group Pretest-Posttest Design. The result of the study revealed that 1. Learning activities by using problem-based learning collaborate place-based had 5 steps were as follows; 1) defining the topic about environmental problem in the village 2) trying to understand interesting environmental problem 3) studying through own framework 4) synthesis concluding and assessing answer 5) presenting and evaluating works had appropriated quality with high level (Mean = 4.08, S.D. = 0.18) and effectiveness equal 76.77/75.24 2. Result of comparison of environmental literacy between pretest and posttest through learning activities by using problem-based learning collaborate place-based learning was that environmental literacy of students after learning were higher than before learning at .01 statistic significant level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและประเมินประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 75/75  2) เปรียบเทียบการรู้สิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่เพื่อพัฒนาการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนามี 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและประเมินประสิทธิภาพผลกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยพิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน จากนั้นทำไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียนบ้านยางเมือง จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหา ภาษาและเวลา จากนั้นปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดลองใช้กับนักเรียน จำนวน 9 คน เพื่อประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามเกณฑ์ 75/75 เครื่องมือที่ใช้วิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สูตร E1/E2 ขั้นตอนที่ 2 เปรียบเทียบการรู้สิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านปากคลองเรือ (โพธิ์โตนด) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 16 คน  ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นนักเรียนที่ผู้วิจัยจัดการเรียนการสอน ใช้แบบแผนการทดลอง One-Group Pretest-Posttest Design ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ มี 5 ขั้นตอน 1) ขั้นการกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน 2) ขั้นทำความเข้าใจกับปัญหาเกี่ยวสิ่งแวดล้อมที่สนใจ 3) ขั้นดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามกรอบการศึกษาที่กำหนด 4) ขั้นสังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของคำตอบ 5) ขั้นนำเสนอและประเมินผลงาน ซึ่งมีผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.08, S.D. = 0.18) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.77/75.24 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบการรู้สิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิดอิงสถานที่ การรู้สิ่งแวดล้อมของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมเรียนรู้th
dc.subjectการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectการเรียนรู้อิงสถานที่th
dc.subjectการรู้สิ่งแวดล้อมth
dc.subjectLearning Activitiesen
dc.subjectProblem-Based Learningen
dc.subjectPlace-Based Learningen
dc.subjectEnvironmental Literacyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ตามแนวคิด อิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.titleA DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES BY USING PLOBLEM-BASED LEARNING COLLABORATE PLACE- BASED LEARNING TO ENHANCE ENVIRONMENTAL LITERACY FOR GRADE 3en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAngkana Onthaneeen
dc.contributor.coadvisorอังคณา อ่อนธานีth
dc.contributor.emailadvisorangkanao@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorangkanao@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NaruchinPhojeng.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.