Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6434
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPISARA JANPENG | en |
dc.contributor | ศุภิสรา จันทร์เพ็ง | th |
dc.contributor.advisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.advisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:31Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:31Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6434 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study the appropriate learning implementation using mathematics modeling and gamification techniques that promote mathematical problem solving skills and 2) to study the effect of learning implementation using mathematical modeling and gamification techniques towards mathematical problem solving skills on graphs and linear relationship for students in grade 1. The research participants were 37 students in Mathayomsuksa 1/1 at a provincial school for the second semester of the academic year 2021. The methodology of this research was classroom action research. The research instruments were three lesson plans, worksheets, learning reflection form and a mathematical problem solving skill test. The data were analyzed by content analysis. The results showed that the learning implementation should focus on the use of interesting problem situations related or closed to real life. The situations should be various and easy to understand. Moreover gamification techniques can engage students to participate in learning and create a good learning atmosphere. In addition, the results from the activity sheets and test were consistent, most of the students had a good improvement in mathematical problem solving skills, For considering four subcomponent,problem comprehension is the most developed, followed by mathematical modeling and answer verification, and problem solving is the least developed. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชันที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และ 2) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชันที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนประจำจังหวัดแห่งหนึ่ง จำนวน 37 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จะใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าแนวทางการจัดการเรียนรู้ควรเน้นการใช้สถานการณ์ปัญหาที่มีความน่าสนใจ เป็นปัญหาในชีวิตจริงหรือใกล้ตัว สถานการณ์มีความหลากหลาย เข้าใจง่าย ร่วมกับการใช้เทคนิคเกมมิฟิเคชันเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจ มีความกระตือรือร้น สร้างความตื่นเต้น ดึงดูดความสนใจให้อยากมีส่วนร่วมในการเรียน และสร้างบรรยากาศในการเรียนได้เป็นอย่างดี สำหรับผลการวิจัยจากใบกิจกรรมและแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีความสอดคล้องกัน คือ นักเรียนส่วนใหญ่มีพัฒนาการทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบย่อยทั้ง 4 ด้าน พบว่า ด้านที่นักเรียนพัฒนามากที่สุด คือ ด้านการทำความเข้าใจปัญหา รองลงมา คือ ด้านการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์และด้านการตรวจสอบคำตอบ และด้านที่นักเรียนพัฒนาน้อยที่สุด คือ ด้านการดำเนินการแก้ปัญหา | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | เกมมิฟิเคชัน | th |
dc.subject | ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น | th |
dc.subject | Mathematical Modelling | en |
dc.subject | Gamification | en |
dc.subject | Mathematical Problem Solving Skills | en |
dc.subject | Graphs and Linear Relationships | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITY BASED ON MATHEMATICAL MODELING AND GAMIFCATION TECHNIQUE TO PROMOTE MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING SKILL ON GRAPH AND LINEAR RELATIONS FOR GRADE 7 STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.coadvisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.emailadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63090961.pdf | 7.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.