Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6418
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNIPHAPHAN THONGSAWANGen
dc.contributorนิภาพรรณ ทองสว่างth
dc.contributor.advisorOmthajit Pansrien
dc.contributor.advisorอ้อมธจิต แป้นศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:29Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:29Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6418-
dc.description.abstractThe aims of this research were to 1) create and determine the effectiveness of the reading comprehension skill based on the 80/80 criteria. 2) compare learning achievement before and after learning with the reading skills exercise, and 3) investigate Matthayomsuksa 1 students' satisfaction with the use of the reading comprehension skill exercise. This research is quantitative research. The research sample consisted of 42 people in Matthayomsuksa 1, the academic year 2021, from BangKrathumpittayakhom School by a specific random method. The reading comprehension accomplishment exam, reading comprehension skills exercises, and satisfaction questionnaire was used in this study. The statistics used for the data analysis were mean percentage, standard deviation, t-test dependent and E1/E2 The analysis indicated that; 1. The efficiency of the reading comprehension skill exercise created and determined for Matthayomsuksa 1 students who used the 9-question technique was 81.19 /82.62, meeting the 80/80 criteria established. 2. A comparison of pre-study and post-study accomplishment with the reading comprehension skill exercise of Matthayomsuksa 1 indicated that students have higher scores after using the reading comprehension skills exercises, with a statistically significant level of .05 3. The findings of a study of Matthayomsuksa 1 students' attitudes on the use of the reading comprehension skill practice. Overall, the degree of satisfaction was high, with (X = 4.39, S.D.= 0.16).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญและ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยจำนวน 42 คน ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม  จำนวน 1 ห้องเรียน  จำนวนนักเรียน 42 คน  โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านจับใจความสำคัญ แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ และแบบสอบถามความพึงพอใจ และสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การทดสอบ t-test dependent และ E1/E2 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ร่วมกับเทคนิค 9 คำถาม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 81.91 /82.62 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่านักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก เท่ากับ (X ̅ = 4.39, S.D. = 0.16)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความสำคัญth
dc.subjectแบบฝึกทักษะth
dc.subjectเทคนิค 9 คำถามth
dc.subjectReading comprehension achievementen
dc.subjectSkill practiceen
dc.subject9 questions techniqueen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Development Reading Comprehension Achievement of Matthayomsuksa 1 students By Skill Practice with the 9 Question Techniqueen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค 9 คำถามth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorOmthajit Pansrien
dc.contributor.coadvisorอ้อมธจิต แป้นศรีth
dc.contributor.emailadvisoromthajitp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoromthajitp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090565.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.