Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6404
Title: | THE RESULT OF FLIPPED CLASSROOM AND SQ4R TECHNIQUE FOR THAI LANGUAGE READING COMPREHENSION ABILITIES PROMOTING OF MATHAYOMSUKSA 3 STUDENTS การจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
Authors: | JANTIMA KANCHA จันทิมา แก่นชา Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส Naresuan University Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส songphopk@nu.ac.th songphopk@nu.ac.th |
Keywords: | การอ่านจับใจความ ห้องเรียนกลับด้าน เทคนิค SQ4R Reading Comprehension Flipped Classroom SQ4R Technique |
Issue Date: | 3 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The research purposes were 1) to develop a learning management plan by using the flipped classroom teaching method with SQ4R technique to develop reading comprehension skill for Matthayom 3students, 2) to compare reading comprehension skill before and after learning with learning management by using flipped classroom teaching method with SQ4R techniques and 3) to acknowledge the students’ satisfaction towards the learning management. The samples of this research are Matthayom 3students at Lomsak Wittayakhom School. The research is conducted on the 2nd semester in 2021. There are 478 samples in 11 classes, which each room has 43 students by using a Purposive sampling method. The research instrument consists of 1) a learning management plan by using flipped classroom teaching method with SQ4R technique for Matthayom 3students, 2) reading comprehension ability test for Matthayom 3students and 3) a student satisfaction survey with learning management, Statistics used for data analysis were the average, percentage, the standard deviation, as well as, t-test dependent.
The results of the research were as follows: 1) The lesson plan by using the flipped classroom teaching method with SQ4R technique for Matthayom 3students is in the excellent level (x̄ = 4.62, S.D = 0.66) 2) The reading comprehension ability was increased compared to before learning found that the posttest was higher than the pretest at the statistical significance .05 and 3) The students are satisfied with this learning method by using the flipped classroom teaching method with SQ4R technique with an excellent level of satisfaction. (x̄ = 4.57, S.D = 0.61) การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม 11 ห้องเรียน จำนวน 478 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน ซึ่งมีนักเรียนจำนวน 43 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) แบบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.62, S.D. = 0.66) 2) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ร่วมกับเทคนิค SQ4R อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.57, S.D. = 0.61) |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6404 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63090237.pdf | 14.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.