Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6388
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | HANCHAI KREETFUFUAING | en |
dc.contributor | หาญชัย เกียรติฟูเฟื่อง | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:21Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:21Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 2/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6388 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to study the need to develop characteristics of educational institution administrators in the digital age under the Mae Hong Son Primary Education Service Area 2 and 2) to compare the need for character development of educational institution administrators in the digital age under the Mae Hong Son Primary Educational Service Area 2. This research was classified by work experience and district location. The population is administrators, 176 people, Mae Hong Son Primary Educational Service Area 2, academic year 2021. The sample group consisted of 123 administrators who performed administrative duties in the Mae Hong Son Primary Educational Service Area 2, academic year 2021.The sample size was determined using the Craigie and Morgan prefabricated tables. The samples were selected by stratified random sampling according to the proportion of each administrator of each district affiliated with the Mae Hong Son Primary Education Service Area 2. The questionnaire was divided into two parts: part 1 questions about general information of the respondents. It was in the form of a check list. part 2 questions about the need to develop the characteristics of educational institution administrators in the digital age under the Mae Hong Son Primary Educational Service Area 2, which is a rating scale based on the concept of Likert with 5 levels with IOC values between 0.67-1.00 and the alpha coefficient of Cronbach's alpha-coefficient of the entire questionnaire was 0.913. Data collection was conducted by requesting a letter from the Graduate School of Naresuan University to the director of the educational institute under the Mae Hong Son Primary Educational Service Area 2 as a sample group. Collecting data manually, received 123 copies, returned 123 copies. The data were analyzed by percentage, mean and standard deviation (S.D.), t-test independent, and One-Way ANOVA. If any difference was found, using the Scheffe's method to test the difference between pairs. The results showed that 1) the overall demand for educational administrator’s characteristics in the digital age was at a high level. When considering each aspect, it was found the aspect of creating a vision that had the level, followed by the aspect of creativity at a high level and the skill of using information technology at a high level, respectively. 2) The results of the comparison of the needs to develop characteristics of educational institution administrators in the digital age under the office of Mae Hong Son Primary Education Service Area 2 classified by work experience and district location. The results were as follows: 2.1) The need to develop characteristics of educational administrators in the digital age classified by work experience, it was found that the results of the comparison of the needs to develop characteristics of educational institution administrators in the digital age classified by work experience as a whole, it was found that there were no differences. When considering each aspect, it was found that all aspects were not different. 2.2) Comparison of the needs of educational institution administrators development characteristics in the digital age classified by district location as a whole, it was found that the results of the comparison of the needs for the development of characteristics of educational institution administrators in the digital age Classified by district location as a whole, it was found that there was a statistically significant difference in need for development at the .05 level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานและตำแหน่งที่ตั้งอำเภอ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 176 คน สำนักงานเขตพื้นที่กาศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มตัวอย่างตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารที่ปฏิบัติหน้าที่บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ในปีการศึกษา 2564 จำนวนทั้งหมด 123 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยตารางสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตามสัดส่วนของผู้บริหารแต่ละของแต่ละอำเภอที่สังกัดในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 แบบสอบถามแบบออกเป็น 2 ตอนได้แก่ ตอนที่ 1 ถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ถามเกี่ยวกับความต้องการพัฒนาคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) ตามแนวคิดของลิเคิร์ท 5 ระดับ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha-coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.913 การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโดย ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ถึงผู้อำนวยการสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จำนวน 123 ฉบับ ได้รับคืน 123 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test independent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างทดสอบความแตกต่างระหว่างคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการสร้างวิสัยทัศน์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับมาก และด้านทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานและตำแหน่งที่ตั้งอำเภอ ปรากฏผลดังนี้ 2.1) ความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาจำแนกตามประสบการณ์การในการทำงาน พบว่า ผลการเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานในภาพรวม พบว่า ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2) ผลการเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามตำแหน่งที่ตั้งอำเภอในภาพรวม พบว่า ผลการเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามตำแหน่งที่ตั้งอำเภอในภาพรวม พบว่า มีความต้องการพัฒนาแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล,คุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา,ผู้บริหารสถานศึกษา | th |
dc.subject | school management in the digital age characteristics in the digital age of educational institution administrators educational institution administrators | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | The Need to Develop Characteristics of Educational Institution Administrators in the Digital Age under the Mae Hong Son Primary Education Service Area 2 | en |
dc.title | ความต้องการพัฒนาคุณลักษณะในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070819.pdf | 3.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.