Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6364
Title: | รูปแบบการจัดการดรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะการคิดแบบองค์รวม : กรณีศึกษากล้วยไข่กำแพงเพชรที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ โดยใช้สวนกล้วยไข่เป็นฐานการเรียนรู้ GEOGRAPHICAL LITERACY LEARNING MANAGEMENT MODEL TO ENHANCE HOLISTIC THINKING SKILLS : CASE STUDIES OF REGISTERED GLUAY KAI KAMPHAENG PHET AS GEOGRAPHICAL INDICATIONS BY USING BANANA GARDEN AS BESED LEARNING |
Authors: | Thassawat Sorkaew ทัศวัฒน์ ซอแก้ว Nattachet Pooncharoen ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ Naresuan University Nattachet Pooncharoen ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ Nattachetp@nu.ac.th Nattachetp@nu.ac.th |
Keywords: | รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ การคิดแบบองค์รวม กล้วยไข่กำแพงเพชร สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ Learning Management Model Geography Holistic Thinking Gluay Kai Kamphaeng Phet Geographical Indications |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This study has two objectives : 1. To study the current situations and the need in geographical literacy learning management 2. Develop geographical literacy learning management model to enhance holistic thinking skills: case studies of registered Gluay kai Kamphaeng phet as geographical indications by using banana garden as based learning. This is qualitative research by Inductive methodology. The main informants were 3 group such as students, Geography teachers and Banana experts include farmers who have experience about Gluay kai Kamphaeng Phet, and District Agricultural Extension Officer. There were 64 participants and the scope of studying which was the secondary school in Khlonglan District and using registered Gluay kai Kamphaeng Phet as geographical indications garden in Khlonglan District, analyzed the data by analytic induction from informants in each group from the interview, focus group discussion, method triangulation together with methodological triangulation. The results of this study found that the current situations and the need in geographical literacy learning management. Incloud hands-on activities, readiness of equipment and teaching materials, use of community learning resources,the expertise of the teachers, literacy of the learners, activities that enhance thinking, time spending, local pride, Funny activities. By bringing the data into groups and using the information to create a learning management guideline on 4 issues: 1) Organizing learning activities outside the classroom 2) Learning management that allows students to actually practice 3) learning management that focuses on developing thinking skills 4) Learning management that emphasizes happiness and fun, and then uses the learning management approach to create 3 principles of learning management: 1) building pride in local farming methods 2) developing thinking skills using geographic processes and 3) Child-centered learning. The researcher had created geographical literacy learning management model to enhance holistic thinking skills by using Gluay kai Kamphaeng Phet as geographical indications-based learning through The Enhance GI Kamphaeng Phet Activity, which consisted of 4 steps such as “Mong Tin Hai Rob Roo” (insightful knowing of the local community), telling the factors, disentanglement of the suspect, and understanding all of the content in holistic manner from the results of this study. Creating KHLONGLAN Model can lead to be the model in geographical literacy learning management supporting thinking skills in a holistic manner. However, making students have holistic thinking skill at A Very Good Level. Students thinking and linking the knowledge of Connectivism Theory of the factors in Physical-Feature Environment include species of Gluay Kai, territorial conditions, climate, density, fertilizer, minerals, moisture, care, and people. By using Gluay kai Kamphaeng Phet garden in the local area. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะการคิดแบบองค์รวม : กรณีศึกษากล้วยไข่กำแพงเพชรที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยใช้สวนกล้วยเป็นฐานการเรียนรู้ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการแบบอุปนัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก 3 กลุ่ม คือ กลุ่มนักเรียน กลุ่มครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา สาระภูมิศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญด้านกล้วยไข่ ได้แก่เกษตรกรผู้เพาะปลูกกล้วยไข่ และ เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ รวมทั้งสิ้น 64 คน โดยมีขอบเขตพื้นที่การศึกษา คือ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในอำเภอคลองลาน และสวนกล้วยไข่กำแพงเพชรที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ในอำเภอคลองลาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยสร้างข้อสรุปการวิเคราะห์แบบอุปนัยจากผู้ให้ข้อมูลในแต่ละกลุ่ม ที่ได้จากการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าด้านวิธีการเก็บข้อมูล ร่วมกับการตรวจสอบสามเส้าโดยการทบทวนข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันและความต้องการของการจัดการเรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ ได้แก่ กิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติ ความพร้อมของอุปกรณ์และสื่อการสอน การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ความเชี่ยวชาญของครูผู้สอน ด้านความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิด ด้านเวลา ด้านความภูมิใจในท้องถิ่น กิจกรรมที่สนุกสนาน โดยนำข้อมูลมาจัดเป็นกลุ่ม และสร้างเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ 4 ประเด็น ได้แก่ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน 2) การจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง 3) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด 4) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสุข สนุกสนาน และได้กำหนดเป็นหลักการจัดการเรียนรู้ขึ้น 3 ประการ ได้แก่ 1) การสร้างความภาคภูมิใจในวิถีเกษตรท้องถิ่น 2) การพัฒนาทักษะการคิดโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ และ 3) การยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้วิจัยจึงสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดแบบองค์รวม : กรณีศึกษากล้วยไข่กำแพงเพชรที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ โดยใช้สวนกล้วยไข่เป็นฐานการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรม พิชิต GI กำแพงเพชร ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ มองถิ่นให้รู้รอบ บอกปัจจัย คลี่คลายสงสัย และเข้าใจองค์รวม จากผลการศึกษา ได้สร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ คือ KHLONGLAN Model สามารถนำมาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะการคิดแบบองค์รวม ทั้งนี้ ทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดแบบองค์รวม ในระดับ ดีมาก ผู้เรียนเกิดการคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆ ได้แก่ สายพันธ์กล้วยไข่ สภาพพื้นที่ อากาศ ความหนาแน่น ปุ๋ย แร่ธาตุ ความชุ่มชื้น การดูแล และคน โดยใช้แหล่งเรียนรู้สวนกล้วยไข่กำแพงเพชรในท้องถิ่น |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6364 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ThassawatSorkaew.pdf | 4.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.