Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6310
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAKKANAT AIYARAen
dc.contributorอัคคณัฐ อัยราth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-10-09T02:14:21Z-
dc.date.available2024-10-09T02:14:21Z-
dc.date.created2021en_US
dc.date.issued22/10/2021en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6310-
dc.description.abstractThis research aimed to develop a management model to innovative school under the office of the secondary educational service area. The research procedure followed 3 steps; 1) study components and guidelines of innovative school model via document analysis, research and interviewing school administrators from schools with best practice, and the experts which was purposive sampling 2) establish and verify the model via 12 experts. The data was analyzed using content analysis, mean and standard deviation 3) evaluate feasibility and profitability of the model. The sample consisted of 369 schools administrators and teachers department by means of multi-stage sampling. The data was analyzed by mean and standard deviation. The findings revealed that a management model to innovative school under the office of the secondary educational service area. consisted of 3 components: 1) Input comprises 7 sub-components and 84 guidelines 2) Process comprises 6 steps and 44 guidelines 3) Output comprises 3 components and 17 guidelines. The model was at a highest level in propriety, feasibility and profitability.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสู่โรงเรียนนวัตกรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ดำเนินการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการสู่โรงเรียนนวัตกรรม จากการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3) การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 369 คน โดยการสุ่มหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการสู่โรงเรียนนวัตกรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย 84 แนวทาง องค์ประกอบที่ 2 ด้านกระบวนการของสถานศึกษา 6 ขั้นตอน 44 แนวทาง องค์ประกอบที่ 3 ผลผลิต 3 องค์ประกอบย่อย 17 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการบริหารจัดการth
dc.subjectโรงเรียนนวัตกรรมth
dc.subjectManagementen
dc.subjectInnovative Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA MANAGEMENT MODEL TO INNOVATIVE SCHOOL UNDER THE OFFICE OF THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREAen
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการสู่โรงเรียนนวัตกรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJitima Wannasrien
dc.contributor.coadvisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.emailadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61031423.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.