Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiriwimon Yuenseeen
dc.contributorสิริวิมล ยืนสีth
dc.contributor.advisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.advisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-08-08T05:13:20Z-
dc.date.available2024-08-08T05:13:20Z-
dc.date.created2567en_US
dc.date.issued2567en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6225-
dc.description.abstractThe objectives of this research are  to study approaches of evidence-based learning management to promote environmental science competencies and  to study the results of evidence-based learning management to promote environmental science competencies. The research participants are 30 twelfth grade students. The instruments used in the research are:  Evidence-based learning plans that promote environmental science competencies on the topic of humans and environmental sustainability, environmental science competency test form,  work sheets, and  teacher reflection form. Data was analysed through content analysis and data creditability was done by resource triangulation. The results of the research were as follows: Evidence-based learning strategies should draw on real-world problems and circumstances and provide students with easy access to trustworthy local information to motivate them to understand the problems and proof sources. Use questions to get groups thinking about potential solutions as you examine the validity of evidence from dependable sources, discuss their reliability, and determine whether explanations are supported by credible evidence. The results of the development of environmental science competencies from evidence-based learning management. The component of environmental science competency that students develop the most is decision making for action with data. It uses an evaluation of various sources of evidence and the application of creative thinking and systems thinking to restore and sustain the environment was at 70.00, followed by showing hope and respect for diverse perspectives in seeking solutions to problems from the social-ecological crisis was at 53.81, and the explanation of the impact of human actions on the Earth system was at 50.47 , respectively.en
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และเพื่อศึกษาผลการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจากการเรียนรู้โดยใช้หลักฐาน ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐานที่ส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เรื่อง มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม  แบบวัดสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม   ใบกิจกรรม และ แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ตรวจสอบข้อมูลด้วยวิธีสามเส้าและใช้สถิติหาค่าร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า  แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐานควรใช้ประเด็นจากสถานการณ์และประเด็นปัญหาใช้ชีวิตจริงและเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความน่าเชื่อถือ ใกล้ตัวนักเรียน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับรู้ถึงแหล่งที่มาของหลักฐานและประเด็นปัญหาได้ ควรอภิปรายถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูลหลักฐานจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือและตรวจสอบว่าคำอธิบายสร้างจากหลักฐานที่น่าเชื่อถือหรือไม่และใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหาได้  ผลการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐานพบว่า องค์ประกอบของสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่นักเรียนพัฒนามากที่สุด คือ การตัดสินใจเพื่อการลงมือกระทำด้วยข้อมูล โดยใช้การประเมินแหล่งข้อมูลของประจักษ์พยานที่หลากหลายและการประยุกต์ใช้การคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดเชิงระบบเพื่อฟื้นฟูและรักษาสิ่งแวดล้อมให้ ยั่งยืน คิดเป็นร้อยละ 70.00 รองลงมา คือ การแสดงถึงความมุ่งหวังและเคารพต่อมุมมองที่หลากหลายในการแสวงหาทางออกของปัญหาจากวิกฤตการณ์ทางด้านนิเวศวิทยาเชิงสังคม คิดเป็นร้อยละ 53.81 และการอธิบายผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อระบบโลก คิดเป็นร้อยละ 50.47 ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐานth
dc.subjectมนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectEnvironmental science competencyen
dc.subjectEvidence-based learningen
dc.subjectHumans and sustainability of environmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เรื่อง มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF ENVIRONMENTAL SCIENCE COMPETENCIES ON THE HUMANS AND SUSTAINABILITY OF ENVIRONMENT USING EVIDENCE – BASED LEARNING FOR  12th GRADE STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.coadvisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.emailadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SiriwimonYuensee.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.