Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6215
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pongsakon Putfak | en |
dc.contributor | พงศกร พุฒฟัก | th |
dc.contributor.advisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.advisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:47Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:47Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6215 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to study the guidelines and results of enhancing students' mathematical reasoning and argument skills by using mathematising process of grade 12 students on application of derivative. The participants were 33 grade 12 students in the academic year 2023. The researcher used classroom action research, 3 cycles, a total duration of 8 hours, and used content analysis and triangulation methods. The research results found that: 1. Learning guidelines in each step of the mathematising process, teachers should emphasize Step 1: Instruct students to specify their answers individually. Step 2: Instruct students to create predictions and reasons, and use questions to make students doubt their predictions. Then guide them to create different predictions. Step 3: Instruct students to adjust their predictions to make them reliable. Step 4: Encourage students to exchange opinions on solutions. Step 5: Use questions to ask students to conclude what the predictions should be appropriate for concluding. 2. Learning results were found that students' mathematical reasoning and argumentation skills improved with every activity and test. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางและศึกษาผลการส่งเสริมทักษะการให้เหตุผลและการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้กระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 33 คน ปีการศึกษา 2566 ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน จำนวน 3 วงจร ระยะเวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง และใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า 1. แนวทางการเรียนรู้ในแต่ละขั้นตอนกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ สิ่งที่ครูควรเน้น ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 แนะนำให้นักเรียนระบุคำตอบแยกเป็นรายข้อ ขั้นตอนที่ 2 แนะนำให้นักเรียนทดลองสร้างข้อคาดการณ์และให้เหตุผลและใช้คำถามให้นักเรียนเกิดความสงสัยในข้อคาดการณ์ แล้วชี้แนะให้สร้างข้อคาดการณ์ที่แตกต่างออกไป ขั้นตอนที่ 3 แนะนำให้นักเรียนปรับข้อคาดการณ์ของตัวเองให้มีความน่าเชื่อถือ ขั้นตอนที่ 4 สนับสนุนให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในขั้นตอนวิธีทำ และขั้นตอนที่ 5 การใช้คำถามให้นักเรียนสรุปว่าข้อคาดการณ์ควรเป็นอย่างไรจึงเหมาะสมกับการหาข้อสรุป 2. ผลการเรียนรู้ พบว่า ทักษะการให้เหตุผลและการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมีพัฒนาการดีขึ้นทุก ๆ กิจกรรมและการทดสอบ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | ทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | ทักษะการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | การประยุกต์ของอนุพันธ์ | th |
dc.subject | Mathematising Process | en |
dc.subject | Mathematical Reasoning Skill | en |
dc.subject | Mathematical Argument Skill | en |
dc.subject | Application of Derivative | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะการให้เหตุผลและการโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์ | th |
dc.title | Learning implementation through mathematising process to enhance of grade 12 students’ mathematical reasoning and mathematical argument skills on application of derivative | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.coadvisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.emailadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PongsakonPutfak.pdf | 3.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.