Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6212
Title: การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL-Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5 W1H
THE DEVELOPMENT OF COMPREHENSIVE READING ABILITY OF PRATHOMSUKSA 5 STUDENTS BY USING LEARNING MANAGEMENT KWL PLUS TECHNIQUE WITH QUESTIONING TECHNIQUE 5W1H
Authors: Siriyakorn Kraomkaew
สิริยากร กระออมแก้ว
Kanchana Witchayapakorn
กาญจนา วิชญาปกรณ์
Naresuan University
Kanchana Witchayapakorn
กาญจนา วิชญาปกรณ์
kanchanaw@nu.ac.th
kanchanaw@nu.ac.th
Keywords: การอ่านจับใจความ
KWL Plus
เทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H
Comprehensive reading
KWL Plus
questioning technique 5W1H
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purposes of this research were to: 1) compare the comprehensive reading ability of students in Prathomsuksa 5 before and after learning using the KWL Plus learning management technique with the 5W1H questioning technique, 2) compare the comprehensive reading ability of students in Prathomsuksa 5 using the KWL Plus technique with the 5W1H questioning technique against a 70% criterion, and 3) to students’ satisfaction of students towards the KWL Plus learning management technique with the 5W1H questioning technique. The sample group was 29 students in Prathomsuksa 5 at AnubanLamnarai School, Chai Badan District, Lopburi Province, semester 2, academic year 2023, selected through simple random sampling using classrooms as sampling units. The tools used in the research were 1) a learning management plan using the KWL Plus learning management technique with the 5W1H questioning technique, 2) a reading comprehension test, and 3) a satisfaction questionnaire of Prathomsuksa 5 students regarding learning management. The statistics used for data analysis were means, percentages, standard deviations, t-test Dependent, and t-test One-Sample The research results revealed that 1) the comprehensive reading ability of students in Prathomsuksa 5 using the KWL Plus technique with the 5W1H questioning technique after studying was higher than before studying with statistical significance at the .05 level, 2) the development of comprehensive reading ability posttest scores of students in Prathomsuksa 5 was higher than the 70 percent criterion with statistical significance at the .05 level, and 3) the satisfaction of students towards the KWL Plus learning management technique with the 5W1H questioning technique overall, satisfaction was at the highest level. (Mean = 4.59, S.D. = 0.61)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี จำนวน 29 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มด้วยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ t-test Dependent และ t-test One-Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H หลังเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญ คะแนน การทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เทคนิค KWL Plus ร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.59, S.D. = 0.61)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6212
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SiriyakornKramkaew.pdf11.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.