Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattaranun Chuenroungen
dc.contributorภัทรนันท์ ชื่นเรืองth
dc.contributor.advisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.advisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-07-30T06:36:41Z-
dc.date.available2024-07-30T06:36:41Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6206-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) study the learning management of context-based learning with technology to development of chemical literacy on the topic solution for 10th grade students and 2) study the results of development of chemical literacy after implementing context-based learning (CBL) with technology. The research participants were 40 students in grade 10 of the science-mathematics learning plan from a school in Phichit province in the second semester of the academic year 2023. The research instruments were four CBL lesson plans, reflective learning management, activity sheets and chemical literacy assessments. Data were analyzed through content analysis, mean values, percentages, and data credibility was ensured through triangulation. The results revealed that 1) the learning management of context-based learning with technology to develop chemical literacy, the teacher should emphasize choosing situations that are consistent and reflect real-life situations in society, such as social issues or situations that the teacher simulates. The teacher should use probing questions to stimulate analysis, explanation, and identification of issues related to the contexts and students should summarize the key concepts derived from that context. The use of technology should be specific to the content and activities designed to enhance learning management effectiveness, such as virtual experiment simulation. 2) the results of development of chemical literacy after implementing context-based learning (CBL) with technology. The students scored highest in chemical literacy components with 88.89% in chemical content, followed by attitude toward chemistry, chemical in context and high-order learning skill scoring 87.85% and 87.15% respectively. The interpretation of these results indicates that the level of chemical literacy is excellent.en
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านเคมี เรื่อง สารละลาย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 2) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านเคมีที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยี เรื่อง สารละลาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง ของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแห่งหนึ่งในจังหวัดพิจิตร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยี จำนวน 4 แผน แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม และแบบวัดความฉลาดรู้ด้านเคมี ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยเทคนิคสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านเคมี มีประเด็นที่ควรเน้น ได้แก่ การใช้บริบทนำในขั้นที่ 1 ขั้นการกำหนดสถานการณ์ และบริบทใหม่ในขั้นที่ 4 ขั้นนำไปใช้ในสถานกาณ์ใหม่ควรมีความสอดคล้องกัน โดยบริบทที่เลือกใช้ควรเป็นสิ่งเกิดขึ้นจริงในสังคม เช่น ข่าวที่เป็นประเด็นในสังคมหรืออาจเป็นสถานการณ์ที่ครูจำลองขึ้นที่มีความน่าสนใจและเกี่ยวข้องกับเนื้อหา การใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการวิเคราะห์ อธิบาย และระบุประเด็นปัญหาเกี่ยวกับบริบทดังกล่าวได้และควรสรุปแนวคิดสำคัญที่ได้จากบริบทนั้น การใช้เทคโนโลยีควรมีความจำเพาะเจาะจงกับเนื้อหาและกิจกรรมที่ออกแบบไว้เพื่อช่วยเสริมประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ เช่น แอปพลิเคชันการทดลองเสมือน 2) ผลการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านเคมีที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยี พบว่า นักเรียนมีคะแนนความฉลาดรู้ด้านเคมีสูงสุดในองค์ประกอบความรู้ทางเคมี คิดเป็นร้อยละ 88.89 รองลงมาคือเจตคติต่อเคมี บริบททางเคมีและทักษะการคิดขั้นสูง คิดเป็นร้อยละ 87.85 87.15 และ 86.81 ตามลำดับและแปลผลได้ว่ามีระดับความฉลาดรู้ด้านเคมีอยู่ในระดับ ดีเยี่ยมth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีth
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านเคมีth
dc.subjectสารละลายth
dc.subjectContext-based learning with Technologyen
dc.subjectChemical Literacyen
dc.subjectSolutionsen
dc.subject.classificationChemistryen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านเคมี เรื่อง สารละลาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.titleCONTEXT-BASED LEARNING INTEGRATED WITH TECHNOLOGY TO DEVELOP CHEMICAL LITERACY ON THE SOLUTION TOPIC FOR 10TH GRADE STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.coadvisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.emailadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PattaranunChuenroung.pdf13.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.