Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhonnapha Bunsuriwongen
dc.contributorพรนภา บุญสุริวงษ์th
dc.contributor.advisorKanchana Witchayapakornen
dc.contributor.advisorกาญจนา วิชญาปกรณ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-07-30T06:36:41Z-
dc.date.available2024-07-30T06:36:41Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6205-
dc.description.abstractThe purpose of this research were to 1) compare the ability to write imaginative stories of grade 6 students before and after the Synectics learning management combined with graphic organizers, 2) compare the ability to write imaginative stories of grade 6 students by organizing Synectics learning together with graphic organizers during the post-class and the criteria of 70 percent and 3) studying the satisfaction of grade 6 students that has to organize learning in the form of Synectics together with graphic organizers. The population includes students in grade 6, semester 2 in academic year 2023, the Taphanhin Coordination Center School Group 02, a total of 111 students. The sample group includes 16 students in grade 6 at WatSattawanaram School, Semester 2, Academic Year 2023 by simple random sampling using schools as random units using a lottery method. The tools used in the research include 1) a learning plan for writing imaginary stories for grade 6 students using Synectics learning combined with graphic diagrams; 2) a test to measure ability in the aspect of writing imaginative stories and 3) a questionnaire on satisfaction with the learning management plan using Synectics learning management together with graphic organizers of grade 6 students. The data were analyzed by mean, standard deviation, Dependent t-test, and One-Sample t-test.                    The results of the research found that 1) the ability to write imaginative stories of grade 6 students after studying was significantly higher than before studying at the .05 level. 2) The ability to write imaginative stories of grade 6 students' scores after learning were higher than the t criteria of 70 percent with statistical significance at the .05 level. 3) Student satisfaction with the Synectics learning management combined with graphic organizers at the highest level.  en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิก 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิกระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิก ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ในกลุ่มโรงเรียนศูนย์ประสานงานตะพานหิน 02 รวมทั้งสิ้น 111 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสัตตวนาราม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 16 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่มด้วยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิก 2) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบ t-test Dependent และ t-test One-Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิก อยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.69, S.D. = 0.51)  th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเขียนเรื่องตามจินตนาการ, ซินเนคติกส์, ผังกราฟิกth
dc.subjectImaginary story writing Synectics Graphic Organizersen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาความสารถด้านการเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยจัดการเรียนแบบซินเนคติกส์ร่วมกับผังกราฟิกth
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF IMAGINARY STORY WRITING ABILITY OF PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS USING SYNECTICS AND GRAPHIC ORGANIZERen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorKanchana Witchayapakornen
dc.contributor.coadvisorกาญจนา วิชญาปกรณ์th
dc.contributor.emailadvisorkanchanaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorkanchanaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PhonnaphaBunsuriwong.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.