Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jiraporn Wongthun | en |
dc.contributor | จิราภรณ์ วงษ์ทัน | th |
dc.contributor.advisor | Artorn Nokkaew | en |
dc.contributor.advisor | อาทร นกแก้ว | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:40Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:40Z | - |
dc.date.created | 2567 | en_US |
dc.date.issued | 2567 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6203 | - |
dc.description.abstract | This action research aimed to investigate the approaches and outcomes of implementing a Polya's problem-solving process-based learning activity integrated with artificial intelligence (AI) applications to enhance the mathematical problem-solving ability of Grade 9 students in solving systems of two linear equations. The research participants were 36 Grade 9 students from a school in Uttaradit Province, Thailand. Action research methodology was employed, and the research instruments included lesson plans, worksheets, reflection forms, and a mathematical problem-solving ability test. Data were analyzed using relative gain scores and content analysis. 1. The results indicated that the learning activity design guidelines should encompass three key aspects: Selecting AI applications appropriate for each step of the mathematical problem-solving process; Designing activities that promote collaborative problem-solving, utilizing questions to stimulate reasoning and discussion, and incorporating AI applications to develop mathematical process skills; Transferring problem-solving skills by gradually withdrawing AI support, encouraging students to solve problems independently. 2. The findings revealed that students demonstrated the greatest improvement in their problem-solving thinking/transformation skills, with a relative gain score of 79.17 Moderate improvements were observed in their application reasoning skills and Interpretation skills, with average relative gain scores of 56.86,42.52 and 32.96 respectively. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางและผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับแอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยเครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวัดคะแนนเพิ่มขึ้นสัมพัทธ์ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1.แนวทางจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรมีแนวปฏิบัติใน 3 ประเด็น ดังนี้ 1) เลือกแอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์ที่เหมาะสมกับกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์แต่ละระยะ 2) ออกแบบกิจกรรมโดยส่งเสริมให้มีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการให้เหตุผลและการถกเถียงอภิปราย และออกแบบการใช้งานแอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์ร่วมกันเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ 3) ถ่ายโอนความสามารถในการแก้ปัญหาโดยถอนการใช้แอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์เพื่อให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง 2.นักเรียนมีพัฒนาการด้านความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ด้านการคิด/แปลงปัญหาสูงสุด คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ เป็น 79.17 รองลงมาคือ ด้านการใช้ ด้านการให้เหตุผลและด้านการตีความ คะแนนเพิ่มสัมพัทธ์เฉลี่ย เป็น 56.86, 42.52 และ 32.96 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา | th |
dc.subject | แอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์ | th |
dc.subject | Mathematical Problem Solving Skills | en |
dc.subject | Polya's Problem Solving Learning Activities | en |
dc.subject | Artificial Intelligence Applications | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับแอปพลิเคชันปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | th |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES USING POLYA’S PROBLEM-SOLVING PROCESS COMBINED WITH ARTIFICIAL INTELLIGENCE APPLICATIONS TO ENHANCE THE ABILITY TO SOLVE MATHEMATICAL PROBLEMS ON SYSTEMS OF LINEAR EQUATIONS IN TWO VARIABLES FOR GRADE 9 STUDENTS | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Artorn Nokkaew | en |
dc.contributor.coadvisor | อาทร นกแก้ว | th |
dc.contributor.emailadvisor | artornn@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | artornn@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JirapornWongthun.pdf | 5.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.