Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6202
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Janchai Chimboon | en |
dc.contributor | จันทร์ฉาย ฉิมบุญ | th |
dc.contributor.advisor | Wanintorn Poonpaiboonpipat | en |
dc.contributor.advisor | วนินทร พูนไพบูลย์พิพัฒน์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:39Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:39Z | - |
dc.date.created | 2567 | en_US |
dc.date.issued | 2567 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6202 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to study 1) the appropriate way of learning implementation through mathematical hands-on tasks to enhance communication ability, and 2) the effects of learning implementation through mathematical hands-on tasks on communication abilty in the topic of fractions for grade 6 students with attention deficit hyperactivity disorder. The participants were 3 students in grade 6 of a small primary school in Phitsanulok Province in the second semester of academic year 2023. The research methodology was the classroom action research comprising of three cycles and took totally 12 hours. The research instruments were three lesson plans, a reflective learning form, activity sheets, and a mathematical communication ability test. Data were analyzed by content analysis and percentage. The results revealed that 1. The mathematical hands-on tasks in fractions composed of 6 steps as follow: 1) introducing, 2) analyzing, 3) operating, 4) concluding and presenting, 5) adjusting, and 6) evaluating. Furthermore, the teacher should emphasize on designing activities that give students the opportunity to gain direct experience from facing real situations, dividing mathematical tasks into subtasks and assigning to students in preferred order. The teacher should regularly be mentor to all students, and ask thought-provoking questions. 2. All students were overall in highest level of mathematical communication ability. It was discovered that students' ability to communicate was highest in drawing, 86.11% followed by using mathematical symbols, 77.78% and lowest in writing text, 61.11%. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นการปฏิบัติโดยใช้งานทางคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ และเพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นการปฏิบัติโดยใช้งานทางคณิตศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีสมาธิสั้น ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ที่มีสมาธิสั้น ของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 3 คน ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน 3 วงจร โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมด 12 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ 3 แผน แบบสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใบกิจกรรม และแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นการปฏิบัติโดยใช้งานทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นศึกษาวิเคราห์ ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติ/ฝึกหัด ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปและเสนอผลการเรียนรู้ ขั้นที่ 5 ขั้นปรับปรุงการเรียนรู้ และขั้นที่ 6 ขั้นการประเมินผล มีประเด็นที่ควรเน้น ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์จริง การแบ่งงานทางคณิตศาสตร์ออกเป็นส่วน ๆ พร้อมทั้งมอบหมายให้กับนักเรียนตามลำดับความพึงพอใจ การเป็นที่ปรึกษาดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ และการใช้คำถามกระตุ้นคิด 2. นักเรียนทุกคนมีระดับความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาองค์ประกอบรายด้าน พบว่า นักเรียนมีความสามารถด้านการเขียนโดยใช้รูปภาพมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 86.11 รองลงมา คือ ด้านการเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 77.78 และด้านการเขียนโดยใช้ข้อความ คิดเป็นร้อยละ 61.11 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นการปฏิบัติโดยใช้งานทางคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีสมาธิสั้น | th |
dc.title | THE COMPLEMENTARY LEARNING BASED ON MATHEMATICAL HANDS-ON TASKS TO ENHANCE COMMUNICATION ABILITY ON THE TOPIC OF FRACTIONS FOR GRADE 6 STUDENTS WITH ATTENTION DEFICIT HYPERACTIVITY DISORDER | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Wanintorn Poonpaiboonpipat | en |
dc.contributor.coadvisor | วนินทร พูนไพบูลย์พิพัฒน์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | wanintorns@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | wanintorns@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JanchaiChimboon.pdf | 6.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.