Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6170
Title: รูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
LEARNING RESOURCE MANAGEMENT MODEL TO DEVELOP STUDENT QUALITY IN SMALL SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION
Authors: Pilan Pawichai
ปิลันธ์ ปาวิชัย
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
Naresuan University
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
sathirapornc@nu.ac.th
sathirapornc@nu.ac.th
Keywords: รูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้
คุณภาพผู้เรียน
โรงเรียนขนาดเล็ก
Learning Resource Management Model
Student Quality
Small School
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: This research aimed to develop a learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission. The research was conducted in 3 steps: 1) Studying the components and guidelines for learning resource management to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission by studying related documents and research, interviewing 5 experts, and studying 3 best practice schools. 2) Creating a learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission by using data from step 1 to draft the development of the model and check the suitability of the model through focus group discussions with 9 experts. 3) Evaluating the feasibility and usefulness of the learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission. The sample consisted of 317 school directors in the lower northern region by stratified random sampling. The research results found that: 1. The learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission consisted of 5 components: 1) People involved in learning resource management, 2) Types of learning resources, 3) Learning resource management processes in schools, 4) Learning resource development, and 5) Student quality. The results of the examination of the learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission, the experts agreed that it was appropriate.  2. The results of the evaluation of the learning resource management model to develop student quality in small schools under the Office of the Basic Education Commission found that it had feasibility and usefulness at the highest level and passed the evaluation criteria.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และศึกษาสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง 2) การสร้างรูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มายกร่างการพัฒนารูปแบบและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบด้วยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ (Focus Group) จำนวน 9 คน 3) การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 317 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ 2) ประเภทของแหล่งเรียนรู้ 3) กระบวนการบริหารแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน 4) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และ 5) คุณภาพผู้เรียน ผลการตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสม 2. ผลการประเมินรูปแบบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์การประเมิน
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6170
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PilanPawichai.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.