Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJaruphun Prompaken
dc.contributorจารุพรรณ พรมพักตร์th
dc.contributor.advisorWareerat Kaewuraien
dc.contributor.advisorวารีรัตน์ แก้วอุไรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-06-20T01:52:31Z-
dc.date.available2024-06-20T01:52:31Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6167-
dc.description.abstract        The objective of this research was to create and study the efficiency of science learning activities using Place-Based learning to enhance environmental literacy for grade 9 students according to the criteria of 75/75 and to compare environmental literacy before and after studied . The sample group consisted of 25 for grade 9 students, semester 2, academic year 2023, Ban Huai Rahong School. Obtained from purposive sampling. The research tools are a science learning activities, lesson Plans , and environmental literacy test. Statistics used in data analysis were mean, standard deviation, and t-test dependent. The results of the research found that: 1. of science learning activities using Place-Based learning as base have 5 steps: 1) Basic skills preparation step. 2) Step of exploring local environmental issues. 3) Step of analyzing the context of local environmental issues. 4) Step of planning and implementing environmental literacy. 5) Step of presenting and evaluating learning work on environmental literacy. The results of the suitability evaluation were at a high level (Mean = 4.06, S.D. = 0.54) and the efficiency was 76.30/75.74. 2. The environmental literacy after studied  for grade 9 students was higher than before with statistical significance at the .01 level.en
dc.description.abstract        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 75/75 และเปรียบเทียบการรู้สิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 25 คน โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน  และแบบวัดการรู้สิ่งแวดล้อม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน มี 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมทักษะพื้นฐาน 2) ขั้นสำรวจประเด็นสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น 3) ขั้นวิเคราะห์บริบทของประเด็นสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น 4) ขั้นวางแผนและดำเนินการด้านการรู้สิ่งแวดล้อม 5) ขั้นนำเสนอและประเมินผลงานการเรียนรู้ด้านการรู้สิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.06, S.D. = 0.54) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.30/75.74 2. การรู้สิ่งแวดล้อมของนักเรียนหลังเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectการรู้สิ่งแวดล้อมth
dc.subjectการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐานth
dc.subjectLearning Activitiesen
dc.subjectPlace-Based Science Learningen
dc.subjectEnvironmental Literacyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สถานที่เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.titleDEVELOPING SCIENCE LEARNING ACTIVITIES USING PLACE-BASED LEARNING TO ENHANCE ENVIRONMENTAL LITERACY FOR GRADE 9 STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWareerat Kaewuraien
dc.contributor.coadvisorวารีรัตน์ แก้วอุไรth
dc.contributor.emailadvisorwareeratk@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorwareeratk@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JaruphunPrompak.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.