Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5948
Title: | การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมdkiแสดงบทบาทสมมติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขาณุวิทยา จังหวัดพิษณุโลก An Enhancement of seventh-grade students’ English speaking skill through role- play: Khanuwittaya School, Kamphaengphet |
Authors: | Amita Kaewta อมิตา แก้วตา Henry yuh Anchunda Henry Yuh Anchunda Naresuan University Henry yuh Anchunda Henry Yuh Anchunda henryy@nu.ac.th henryy@nu.ac.th |
Keywords: | บทบาทสมสมติ, ทักษะการพูด, ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ Role-play speaking skills English-speaking ability |
Issue Date: | 2566 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This study aims to 1) compare the students' English-speaking ability before and after the hypothetical role-playing activity test, 2) assess their English-speaking ability after the hypothetical role-playing activity test using the CEFR standard language competency level of A2, and 3) evaluate the student's satisfaction of the learning management process using hypothetical role-playing activities. For the sample group, 42 seventh-grade students (second semester, academic year 2022) from Khanuwittaya School, Kamphaeng Phet Province, were selected through random sampling. This pre-experimental research design study utilized the One-Group-Pretest-Posttest Design model. Data collection instruments included five role-play lessons, pre-post-tests to assess English speaking ability, and questionnaires to assess students' satisfaction with the role-playing activities. The study was conducted for five weeks. Data were analyzed using independent t-tests, mean, and standard deviation (S.D.). Research results showed that the English-speaking skills of the experimental group significantly improved after the hypothetical role-play activities designed for this study, with a 0.05 significant level. The English-speaking ability of the students after the CEFR posttest in all aspects was B1+, which was higher than the required CEFR level for junior high school, A2. The students rated the role-playing activities with a high satisfaction level, with a mean score of 4.01 and a standard deviation (S.D.) of 0.71. This study found that hypothetical role-playing activity effectively enhanced the participants' English-speaking ability, helped the students achieve the expected English language proficiency level following the CEFR standard, and was well-received by the students. การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการทดลองกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติ 2) เพื่อศึกษาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติกับระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบมาตรฐาน CEFR ที่ระดับ A2 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 42 คน โรงเรียนขาณุวิทยา จังหวัดกำแพงเพชร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เลือกโดยสุ่มแบบกลุ่ม(Group random sampling )การวิจัยครั้งนี้เป็นลักษณะงานวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น (Pre- Experimental Research)โดยใช้รูปแบบตามแผนการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังเรียน (One-Group-Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองและเก็บข้อมูลคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมติจานวน 5 บทเรียน 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการพูดพูดภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทบาทสมมติ ระยะเวลาในการทดลองจานวน 5 สัปดาห์ สถิติในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยt- test และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติกับระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบมาตรฐาน CEFR ที่ระดับ A2 หลังการทดลอง ภาพรวมทุกด้าน อยู่ในระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR ที่ระดับ B1+ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ความสามารถทางภาษาตามกรอบมาตรฐาน CEFR ของระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือการศึกษาภาคบังคับที่กำหนดไว้ที่ระดับ A2 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทบาทสมมติรวมทุกด้านโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (Mean = 4.01, S.D. = 0.71) การศึกษาครั้งนี้พบว่า กิจกรรมการเล่นบทบาทสมมติมีประสิทธิภาพในการเสริมสร้างความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของผู้เข้าร่วม ช่วยให้นักเรียนบรรลุระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษที่คาดหวังตามมาตรฐาน CEFR และได้รับการตอบรับอย่างดีจากนักเรียน |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5948 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
AmitaKaewta.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.