Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5510
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Puttitaporn Jaidee | en |
dc.contributor | พุธิตาพร ใจดี | th |
dc.contributor.advisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.advisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-05-30T02:20:50Z | - |
dc.date.available | 2023-05-30T02:20:50Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5510 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to study the academic administrations and guidelines of academic administration for developing English learning achievement in Ordinary National Educational Test (O-NET) of primary 6 students of schools under the Phichit Primary Educational Service Area Office 1. The first step was to study the academic administration for developing English learning achievement in Ordinary National Educational Test (O-NET). The sample group consisted of 152 administrators and English teachers under the Phichit Primary Educational Service Area Office 1 which is divided into 81 administrators and 71 teachers, acquired by stratified random sampling method based on the proportion of the administrators and teachers in the Phichit Primary Educational Service Area Office 1. The data was collected by questionnaire. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The second step was to study the guidelines of academic administration for developing English learning achievement in Ordinary National Educational Test (O-NET). The informant group was 5 experts acquired by purposive sampling. The data was collected by interview and were analyzed by content analysis. The results of the study were as follows: 1. The academic administrations for developing English learning achievement in Ordinary National Educational Test (O-NET) of primary 6 students of schools under the Phichit Primary Educational Service Area Office 1 overall were at a high level. When considering each aspect. The highest mean aspect was curriculum management and development. The lowest mean aspect was development and use of media and technology. 2. The guidelines of academic administration for developing English learning achievement in Ordinary National Educational Test (O-NET) of primary 6 students of schools under the Phichit Primary Educational Service Area Office 1 found that Administrators should determine the school curriculum in line with Ordinary National Educational Test (O-NET). Administrators promote teachers to teach in Active learning. Learning outcomes are measured and evaluated according to standards and indicators. Determine Quality Assurance per the certification standards specified by the government with the process of PLC. Administrators promote and support teachers to use media and technologies in teaching English to improve English learning achievement. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 โดยวิธีดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนและครูภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 จำนวน 152 คน โดยเป็นผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 81 คนและครูภาษาอังกฤษจำนวน 71 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยคำนวณเทียบสัดส่วนของผู้บริหารและครูภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้โดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดการและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยี 2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 พบว่า ผู้บริหารและครูควรร่วมกันกำหนดหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) เน้นจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active learning มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด กำหนดการประกันคุณภาพให้เป็นไปตามการรับรองมาตราฐานตามที่รัฐบาลได้กำหนด โดยมีการบวนการนิเทศรูปแบบ PLC และส่งเสริมครูในการใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านภาษาอังกฤษ (O-NET) | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การบริหารงานวิชาการ | th |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) | th |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ | th |
dc.subject | Academic Administration | en |
dc.subject | Ordinary National Educational Test (O-NET) | en |
dc.subject | English | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ(O-NET)สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 | th |
dc.title | THE STUDY OF ACADEMIC ADMINISTRATIONS FOR DEVELOPING ENGLISH LEARNING ACHIEVEMENT IN THE ORDINARY NATIONAL EDUCATIONAL TEST (O-NET) OF PRIMARY 6 STUDENTS OF SCHOOLS UNDER THE PHICHIT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1. | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.coadvisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PuttitapornJaidee.pdf | 2.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.