Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJutharat Ranumanen
dc.contributorจุฑารัตน์ เรณุมานth
dc.contributor.advisorThirasak Uppamaiathichaien
dc.contributor.advisorธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:50Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:50Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5507-
dc.description.abstractThe purpose of this research is  To study the management of educational resources and study the guidelines for managing educational resources of educational institutions.  under the Office of Phitsanulok Primary Educational Service Area 3 by means of research. Step     1: Study of educational resource management of schools.  under the Office of Phitsanulok Primary Educational Service Area 3. The samples were:  administrators and teachers  The sample consisted of 306 students under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3, divided into 24 school administrators and 214 teachers.  By comparing the Crazy Morgen table and selecting the samples.  by random stratification  according to the proportion of administrators and teachers in each district  The tools used for data collection were questionnaires. Data were analyzed by means and standard deviations.  and the second step, a study of educational resource management guidelines of educational institutions  Under the Office of Phitsanulok Primary Educational Service Area 3, the groups of informants were:  3 qualified persons by specific selection  The tools used for data collection were interview forms. Data were analyzed by content analysis.  The results found that:  1. Educational resource management study results of educational institutes  Under the office of Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3, the overall level was at the highest level.  When considering each aspect, it was found that thewith the highest average was the aspect of human resource management  And the aspect with the lowest average was the management of material-equipment resources and the management of building resources.  2. The results of the study of educational resource management guidelines of educational institutions  under the Office of Phitsanulok Primary Educational Service Area 3 found that school administrators must study, analyze and  to calculate the workforce of government teachers and educational personnel in accordance with the rules and procedures prescribed by GTEPC; to prepare education development plans;  Action plans and evaluation of various projects according to the specified action plan if the budget project budget is insufficient. Use the method of mobilizing resources.  Make a plan for the maintenance of materials - equipment.  And there must be a parcel inspection at the end of every fiscal year and prepare a budget request from the management department to verify the readiness of the premises.  If it is damaged, arrange for a budget to repair and maintain the school building.  The building is secure and can be used to organize various activities effectively.  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาและศึกษาแนวทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก  เขต 3 โดยวิธีการดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3   กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร  และครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3 จำนวน 306 คน ซึ่งแบ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 24 คน และครูผู้สอน 214 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปรียบเทียบตาราง เครจซี่มอร์เกนและเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามสัดส่วนของผู้บริหารและครูผู้สอนแต่ละอำเภอในสังกัด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน ได้โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3  ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการบริหารทรัพยากรวัสดุ-อุปกรณ์และด้านการบริหารทรัพยากรอาคารสถานที่   2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3  พบว่า  ผู้บริหารสถานศึกษาต้องศึกษาวิเคราะห์และ คำนวณอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการและประเมินโครงการต่างๆตามแผนปฏิบัติการที่กำหนดหากงบโครงการงบประมาณไม่เพียงพอใช้วิธีการระดมทรัพยากร จัดทำแผนในการซ่อมบำรุงวัสดุ-อุปกรณ์ และต้องมีการตรวจสอบพัสดุทุกสิ้นปีงบประมาณและจัดทำคำของบประมาณจากหน่วยงานผู้บริหารตรวจสอบความพร้อมของอาคารสถานที่ หากชำรุดให้จัดของบประมาณซ่อมแซมบำรุงรักษาอาคารเรียน อาคารประกอบให้มีความมั่นคงปลอดภัยสามารถใช้จัดกิจกรรมต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาth
dc.subjectThe Administration Educational Resourcesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3th
dc.titleHUMAN RESOURCE MANAGEMENT OF SCHOOL PHITSANULOK PRIMARR EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThirasak Uppamaiathichaien
dc.contributor.coadvisorธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัยth
dc.contributor.emailadvisorthirasaku@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorthirasaku@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JutharatRanuman.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.