Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5288
Title: | การเปรียบเทียบรูปแบบการดำเนินงานระหว่างการค้าปลีกแบบมีหน้าร้าน และการค้าปลีกออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า The comparison of strategy between traditional trade and dropship |
Authors: | Ratana Panluadthai รตน พันธ์เลือดไทย Woradech Na krom วรเดช ณ กรม Naresuan University Woradech Na krom วรเดช ณ กรม woradechn@nu.ac.th woradechn@nu.ac.th |
Keywords: | การค้าปลีกออนไลน์แบบไม่มีหน้าร้าน การค้าปลีกแบบมีหน้าร้าน การดำเนินงาน Dropshipping Traditional trade Process |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The objectives of this research were 1) Compare the business performance between traditional fashion clothing retailing strategy and online retailing of fashion clothing without warehouse, 2) Compare business stability between traditional fashion clothing retailing strategies and online retailing of fashion clothing without
a warehouse. The sample population included 5 fashion clothing retail stores and 5 fashion traders using a dropshipping. The research tools were an interview form with a detailed questionnaire. Qualitative data analysis was applied with inference analysis together with descriptive data analysis of the information content derived from
the questionnaires and interviews. Data were synthesized and summarized to find common characteristics of both retailing strategies and the differences identified from the information provided. The results showed that 1) The traditional fashion clothing retailing strategy has a higher turnover than the online retailing business. The cost of running a physical retail business is higher than running an online retail business,
2) The overall business stability of the online retail business must be constantly adjusted to meet changes in consumer behavior, which is a feature of contemporary retailing. A further finding was that the online retail businesses want to change their business model from being distributors only to being retailers who stock products themselves and therfore having a warehouse. การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลประกอบการทางธุรกิจระหว่างกลยุทธ์การค้าปลีกเสินค้าแฟชั่นแบบดั้งเดิม และการค้าปลีกเสื้อผ้าแฟชั่นออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า (Dropshipping) และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความมั่นคงทางธุรกิจระหว่างกลยุทธ์การค้าปลีกเสื้อผ้าแฟชั่นแบบดั้งเดิม และการค้าปลีกเสื้อผ้าแฟชั่นออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า (Dropshipping) กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลที่ทำธุรกิจร้านค้าปลีกเสื้อผ้าแฟชั่นแบบมีหน้าร้าน จำนวน 5 ราย บุคคลที่ทำธุรกิจร้านค้าปลีกเสืื้อผ้าแฟชั่นออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า (Dropshipping) จำนวน 5 ราย ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ที่มีลักษณะคำถามแบบเจาะลึก การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุป และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยายตามที่ปรากฏในข้อความ ผลการวิจัยพบว่า 1) การทำธุรกิจค้าปลีกแบบมีหน้าร้านมีผลประกอบการที่สูงกว่าการทำธุรกิจค้าปลีกออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า โดยต้นทุนของการทำธุรกิจค้าปลีกแบบมีหน้าร้านมีต้นทุนในการทำธุรกิจที่สูงกว่าการทำธุรกิจค้าปลีกออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า 2) ความมั่นคงทางธุรกิจมีการปรับตัวเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน คือ มีการทำธุรกิจในรูปแบบออนไลน์ร่วมด้วย ซึ่งการทำธุรกิจค้าปลีกออนไลน์แบบไม่มีคลังสินค้า ผู้ประกอบการต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำธุรกิจจากการเป็นตัวแทนจำหน่ายไปเป็นการสต๊อกสินค้าเอง |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5288 |
Appears in Collections: | คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RatanaPanluadthai.pdf | 4.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.