Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSORAWEE POPAYORMen
dc.contributorสรวีย์ โพธิ์พยอมth
dc.contributor.advisorWansuree Masagramen
dc.contributor.advisorวันสุรีย์ มาศกรัมth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2020-10-27T07:40:29Z-
dc.date.available2020-10-27T07:40:29Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1542-
dc.descriptionMaster of Science (M.S.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractDetection of LED seven segment panels presents a particular challenge of locating characters among background clutter. This study proposed a framework based on a predefined HSV color slicing technique for detection and recognition by using the convolutional neural network. The problem of limited data in creating rotation, scale, perspective, and illumination invariant of the neural network training sets are alleviated by the data augmentation technique. The multiscale Radon transform is proposed in this study to enhance the data augmentation for seven segment display recognition. The results demonstrate the framework’s superiority over other color slicing methods with 94.46% precision and 92.24% recall for the part of detection. And the accuracy rates for the recognition part demonstrate the overall accuracy performance of 87.05%.en
dc.description.abstractการตรวจจับตัวเลขที่แสดงผลในรูปแบบเจ็ดส่วนบนจอภาพแอลอีดีนั้นมีความท้าทายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการค้นหาตัวเลขท่ามกลางวัตถุที่หลากหลายบนภาพซึ่งอาจมีส่วนประกอบหรือรูปทรงที่คล้ายคลึงกัน ดังนั้น ในงานวิจัยนี้จะนำเสนอวิธีการนำตัวเลขที่แสดงผลในรูปแบบเจ็ดส่วนออกมาจากภาพ โดยการตัดแบบกำหนดช่วงบนแบบจำลองสี HSV (Predefined HSV color slicing technique) เพื่อการตรวจจับ และประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน (Convolutional neural network) ในการรู้จำ ทางผู้วิจัยนำเสนอวิธีการเพิ่มข้อมูลโดยการแปลงเรดอนหลายขนาด (Multiscale Radon transform) เพื่อลดปัญหาด้านข้อจำกัดของข้อมูลภาพสอนสำหรับโครงข่ายประสาทเทียม รวมถึงการลดปัญหาพฤติกรรมการถ่ายภาพซึ่งส่งผลให้ภาพเอียง มีขนาดภาพที่หลากหลาย มุมมองของภาพ และผลจากการตกกระทบของแสงที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจส่งผลต่อการรู้จำภาพตัวเลขที่แสดงผลในรูปแบบเจ็ดส่วน และผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการตรวจจับที่ผู้วิจัยนำเสนอมีค่าความแม่นยำ และค่าการเรียกคืนตัวอักษรที่สูงที่สุดอยู่ที่ 94.46% และ 92.24% ตามลำดับ รวมไปถึงวิธีการรู้จำที่ผู้วิจัยนำเสนอมีค่าเฉลี่ยของอัตราความถูกต้องอยู่ที่ 87.05% อีกด้วยth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการแปลงเรดอนหลายขนาดth
dc.subjectการตรวจจับจอภาพที่แสดงผลในรูปแบบเจ็ดส่วนth
dc.subjectการรู้จำตัวเลขที่แสดงผลในรูปแบบเจ็ดส่วนth
dc.subjectการเพิ่มข้อมูลth
dc.subjectการตัดแบบกำหนดช่วงบนแบบจำลองสี HSVth
dc.subjectPredefined HSV color slicingen
dc.subjectmultiscale Radon transformen
dc.subjectseven segment display detectionen
dc.subjectseven segment number recognitionen
dc.subjectdata augmentationen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleการตรวจจับและรู้จำข้อความเพื่อการทำงานแบบอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรมth
dc.titleText Detection and Recognition for Industrial Automationen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะวิทยาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062373.pdf7.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.