Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6036
Title: การพัฒนาแบบจำลองสารสนเทศเมือง สำหรับการจัดการทรัพยากรกายภาพ ภายใต้งานวิศวกรรมโยธา
DEVELOPMENT OF URBAN INFORMATION MODELING FOR FACILITY MANAGEMENT BASED ON CIVIL ENGINEERING WORKS
Authors: Perapong Kaewpoonsuk
พีระพงษ์ แก้วพูลสุข
Kumpon Subsomboon
กำพล ทรัพย์สมบูรณ์
Naresuan University
Kumpon Subsomboon
กำพล ทรัพย์สมบูรณ์
kumpon@nu.ac.th
kumpon@nu.ac.th
Keywords: แบบจำลองสารสนเทศอาคาร
แบบจำลองสารสนเทศเมือง
การจัดการทรัพยากรกายภาพ
เมืองอัจฉริยะ
Digital Twin
Building Information modeling (BIM)
Urban Information Modeling (UIM)
Facilities Management
Smart City
Digital Twin
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: This research proposes a new methodology for Urban Information Modeling (UIM) for civil engineering, construction, and facility management.  Such a methodology was the expansion of the concept of building information modeling (BIM) to support the digital twin smart city operation, covering building and infrastructure works. BIM, block model, industry foundation classes (IFC) model, reality model, point cloud model, raster, 2D Computer Aided or Drawing/Drafting Design (2D CAD), graphic information system (GIS) or digital terrain model (DTM), base maps from providers such as Google Maps and Bing Maps were integrated. Primary and secondary databases, both graphic and non-graphic, were linked to the platform. Naresuan University was utilized as a study area for investigating civil engineering applications such as building maintenance/re-construction, construction monitoring, and facility management (FM), as well as for testing collaboration online.  The result showed that the presented UIM methodology could be used in the development of graphical and non-graphical for urban information models. Linking primary and secondary databases could support interactive and online collaborations and could be used as a tool to help plan in civil engineering, construction, and urban works effectively.
การวิจัยนี้เสนอระเบียบวิธีแบบจำลองสารสนเทศเมือง สำหรับงานวิศวกรรมโยธา ก่อสร้าง และจัดการทรัพยากรกายภาพ ขยายแนวคิดแบบจำลองสารสนเทศอาคาร เพื่อรองรับเมืองอัจฉริยะแบบ Digital Twin ทั้งงานอาคาร และโครงสร้างพื้นฐาน บูรณาการแบบจำลอง ได้แก่ แบบจำลองสารสนเทศอาคาร แบบจำลองบล็อก รูปแบบมาตรฐาน IFC แบบจำลองเสมือนจริง แบบจำลองเมฆจุด ข้อมูลรูปภาพ Computer Aided Or Drawing / Drafting Design (CAD) สองมิติ แบบจำลองสารสนเทศภูมิศาสตร์ รวมถึงแผนที่ฐาน เช่น Google Map และ Bing Map (Microsoft)  เชื่อมโยงฐานข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ทั้งกราฟิก และไม่กราฟิกเข้าด้วยกัน ใช้มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นพื้นที่ศึกษา พร้อมทดลองใช้งานด้านวิศวกรรมโยธา ได้แก่ ปรับปรุงอาคาร ติดตามงานก่อสร้าง และจัดการทรัพยากรกายภาพ เพื่อทดสอบการทำงานร่วมกันของข้อมูล  ผลการวิจัยปรากฏว่า ระเบียบวิธีแบบจำลองสารสนเทศเมืองที่นำเสนอ สามารถใช้พัฒนาแบบจำลองสารสนเทศเมือง ทั้งกราฟิก และไม่กราฟิกได้  การเชื่อมโยงฐานข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ สนับสนุนการทำงานร่วมกันเชิงโต้ตอบ และทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ได้เป็นอย่างดี  สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหางานวิศวกรรมโยธา การก่อสร้าง และการทำงานระดับเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6036
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PerapongKaewpoonsuk.pdf8.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.