Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTheerarat Chanphongen
dc.contributorธีรารัตน์ จันทร์ผ่องth
dc.contributor.advisorSuriya Chapooen
dc.contributor.advisorสุริยา ชาปู่th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.available2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5943-
dc.description.abstractThis action research aimed to study the learning management of the argument-driven inquiry model (ADI) to enhance collaborative problem-solving competency in the world and natural disasters topic and to study the result of collaborative problem-solving ability after implementing the argument-driven inquiry model. The participants were selected through purposive sampling. The participants were Prathomsuksa 6 Students in a school in Ban Tak District, Tak Province in the second semester of the academic year 2022. Research tools were learning management plans with an appropriate value of 4.59, a model reflecting the outcomes of learning management, the collaborative problem-solving performance observation form, and the cooperative problem-solving, which had an index of consistency (IOC) 0.80 to 1.00. Data were analyzed by using content analysis, mean, and percentage. The dependability of the qualitative data was verified by triangulation. The results showed that an inquiry-based learning management method was fueled by argumentative strategies and consisted of 7 steps: 1) Identification of the task 2) The generation of data 3) Production of a tentative argument 4) Argument session 5) Creation of a written investigation report 6) Double-blind peer review, and 7) Revision of the report. It was discovered that during learning management, the learners progressively improved their cooperative problem-solving abilities corresponding to the test results in which the majority of learners demonstrated a high level of cooperative problem-solving competency. Therefore, teaching should be continued to support students in solving problems collaboratively.en
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ และศึกษาผลของการส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง ซึ่งกลุ่มเป้าหมายมาจากการเลือกแบบเจาะจงเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ มีความเหมาะสมเท่ากับ 4.59 แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ แบบสังเกตสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และแบบทดสอบสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ มีความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.80 ถึง 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ใช้คะแนนค่าเฉลี่ยและร้อยละ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการระบุภาระงาน 2) ขั้นการสำรวจและรวบรวมข้อมูล 3) ขั้นการสร้างข้อโต้แย้งชั่วคราว 4)  ขั้นกิจกรรมการโต้แย้ง 5) ขั้นการเขียนรายงานการโต้แย้ง 6) ขั้นการตรวจสอบโดยเพื่อน  และ 7) ขั้นการปรับปรุงรายงาน สำหรับผลการจัดการเรียนรู้ พบว่า ระหว่างการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนมีพัฒนาการในสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ สอดคล้องกับผลการทดสอบสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีระดับสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือในระดับสูง ดังนั้นผู้เรียนควรได้รับการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีการพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือได้อย่างมีประสิทธิภาพth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งth
dc.subjectสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติth
dc.subjectArgument-Driven Inquiry (ADI)en
dc.subjectCollaborative Problem Solvingen
dc.subjectThe world and natural disastersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleTHE  IMPLEMENTATION  ARGUMENT DRIVEN INQUIRY  APPROACH TO ENHANCE COLLABORATIVE PROBLEM-SOLVING COMPETENCY ON THE TOPIC OF THE WORLD AND NATURAL DISASTERS FOR PRATHOMSUKSA 6  STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSuriya Chapooen
dc.contributor.coadvisorสุริยา ชาปู่th
dc.contributor.emailadvisorsuriyac@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsuriyac@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TheeraratChanphong.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.