Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSunantha Songnunen
dc.contributorสุนันทา ส่งนุ่นth
dc.contributor.advisorAumporn Lincharoenen
dc.contributor.advisorเอื้อมพร หลินเจริญth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:07:01Z-
dc.date.available2023-10-31T04:07:01Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5853-
dc.description.abstractThis study aimed 1) to develop and verify the quality of the measurement scale on critical thinking skills for upper elementary school students and 2) to create a norm of the measurement scale on critical thinking skills. The sample in this study included 395 grade 4-6 students under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office, obtained by multi-stage sampling. The research instrument was the measurement scale on critical thinking skills based on Dressel and Mayhew's concept, totaling 42 items. Statistics for data analysis included mean, coefficient of distribution, skewness, kurtosis, percentile, normally distributed standardized scores, and confirmatory factor analysis. The findings revealed that 1) the measurement scale on critical thinking skills for upper elementary school students consisted of 5 components: the ability to define problems, the ability to choose information related to solutions to problems, the ability to organize information, the ability to create hypotheses, and the ability to draw logical conclusions. The IOC value was between 0.60-1.00. The difficulty was between 0.17 to 0.40. The index of discrimination was between 0.23 and 0.54. The analysis result of the reliability was 0.899 at a high level with structural conformity. 2) The determination of local norms of the measurement scale was divided into 4 levels: a high level of critical thinking with a score of 33 or more (≥T57), a relatively high level of critical thinking with a score between 27-32 (T50 – T56), a moderate level of critical thinking with a score between 22-26 (T46 – T49), and a low level of critical thinking with a score less than 22 (< T46).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย 2) เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติ (Norm) การวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 395 คน ที่ได้มาจากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตามแนวคิดของ Dressel and Mayhew จำนวน 42 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย สัมประสิทธิ์การกระจาย ความเบ้ ความโด่ง เปอร์เซ็นไทล์ คะแนนมาตรฐานทีแบบแจกแจงปกติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ความสามารถในการนิยามปัญหา ความสามารถในการเลือกข้อมูลเกี่ยวข้องกับการหาคำตอบของปัญหา ความสามารถในการจัดระบบข้อมูล ความสามารถในการกำหนดและเลือกสมมติฐาน และความสามารถในการลงข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผล โดยมีค่า IOC มีค่าระหว่าง 0.60-1.00 ค่าความยากง่ายมีค่าอยู่ระหว่าง 0.17 ถึง 0.40 ค่าอำนาจจำแนก มีค่าอยู่ระหว่าง 0.23 ถึง 0.54 ผลการวิเคราะห์ความเที่ยงทั้งฉบับมีค่า 0.899 ซึ่งอยู่ในระดับสูง และความตรงเชิงโครงสร้าง 2) การสร้างเกณฑ์ปกติระดับท้องถิ่น (Local Norms) ของแบบวัดแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ การคิดอย่างมีวิจารณญาณสูง เมื่อมีคะแนน 33 คะแนนขึ้นไป (≥T57), การคิดอย่างมีวิจารณญาณค่อนข้างสูง เมื่อมีคะแนนตั้งแต่ 27-32 คะแนน (T50 – T56), การคิดอย่างมีวิจารณญาณปานกลาง เมื่อมีคะแนนตั้งแต่ 22-26 คะแนน (T46 – T49), และการคิดอย่างมีวิจารณญาณต่ำ เมื่อมีคะแนนน้อยกว่า 22 คะแนน (น้อยกว่า T46)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแบบวัด; การคิดอย่างมีวิจารณญาณ; เกณฑ์ปกติระดับท้องถิ่นth
dc.subjectcritical thinking; local norms; measurement scaleen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleการสร้างแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleDevelopment of the Measurement Scale on Critical Thinking Skills for Upper Elementary School Students under Phitsanulok Primary Educational Service Area Officeen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAumporn Lincharoenen
dc.contributor.coadvisorเอื้อมพร หลินเจริญth
dc.contributor.emailadvisoraumpornli@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoraumpornli@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SunanthaSongnun.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.