Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCharupha Nuanphengen
dc.contributorจารุภา นวลเพ็งth
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:07:00Z-
dc.date.available2023-10-31T04:07:00Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5847-
dc.description.abstractThis action research aimed to 1) describe and explain a situation-based learning approach to enhance the 9th grade students’ systems thinking about ecosystems, and 2) study’ their progression of systems thinking in the classroom. The participants were 27 students. The research instruments included lesson plans, reflective journals, systems thinking surveys with the IOC = 0.80 to 1.00, and student learning notes. The research was conducted over three cycles. The data were analyzed using content analysis and triangulation. The findings indicated that 1) the situation-based learning approach should follow these guidelines: 1.1 The topics or stories that students are interested in should be used to pique their interest; 1.2 grouping should allow for participation by all, a clear explanation of roles, and rehearsal of roles prior to presentation; 1.3 stimulating the performance of the group leader's roles and responsibilities in facilitating discussions should be done; 1.4 encouraging every student to participate in expressing their opinions and understanding during the discussion;  1.5 Evaluating students using novel situations that are similar but not identical to previous learning situations. 2) Development in systems thinking: it was found that students developed four systems thinking skills; advocacy, causal loops, inquiry, and reflective thinking, in that order. (Percentages of 63, 52, 44, and 30)en
dc.description.abstractการวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานที่ส่งเสริมการคิดเชิงระบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ระบบนิเวศ 2) ศึกษาพัฒนาการด้านการคิดเชิงระบบ เมื่อจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐาน ผู้เข้าร่วมวิจัยมีจำนวน 27 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกสะท้อนผล แบบสำรวจการคิดเชิงระบบ ที่มีค่า IOC = 0.80-1.00 และใบบันทึกการเรียนรู้ ดำเนินการวิจัยทั้งหมด 3 วงจรปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการตรวจสอบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานพบว่า 1.1 ควรเร้าความสนใจของนักเรียนควรใช้เรื่องราวหรือหัวข้อที่นักเรียนสนใจ 1.2 ควรจัดกลุ่มให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม มีการอธิบายลักษณะบทบาทสมมติชัดเจน และให้ซักซ้อมบทบาทสมมติก่อนการแสดง 1.3 ควรกระตุ้นการแสดงบทบาทหน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มในการนำอภิปราย 1.4 กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือความเข้าใจของตน 1.5 ประเมินผู้เรียนด้วยการใช้สถานการณ์ใหม่ที่ใกล้เคียงแต่ไม่ซ้ำกับสถานการณ์ในบทเรียนก่อนหน้า 2) การพัฒนาด้านการคิดเชิงระบบพบว่า นักเรียนเกิดการพัฒนาการคิดเชิงระบบ 4 ทักษะ โดยพัฒนาทักษะการนำเสนอได้มากที่สุด รองลงมาคือ ทักษะการลากเส้น ทักษะการตั้งคำถาม และทักษะการคิดทบทวนตามลำดับ (ร้อยละ 63, 52, 44 และ 30)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐาน, การคิดเชิงระบบ, ระบบนิเวศth
dc.subjectSituation-based Learningen
dc.subjectSystems Thinkingen
dc.subjectEcosystemen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานที่ส่งเสริมการคิดเชิงระบบ เรื่อง ระบบนิเวศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.titleSITUATION BASED LEARNING APPROACH FOR ENHANCING THE 9th  GRADE STUDENTS' SYSTEMS THINKING ABOUT ECOSYSTEMS en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.coadvisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.emailadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CharuphaNuanpheng.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.