Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5818
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSutee Futemwongen
dc.contributorสุธีร์ ฟูเต็มวงค์th
dc.contributor.advisorSupanee Sengsrien
dc.contributor.advisorสุภาณี เส็งศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:55Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:55Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5818-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop the active learning model with augmented reality 2) to implement the active learning model with augmented reality and 3) To certification of active learning model with augmented reality. The sampling technique was Multi-stage Sampling 139 samples studying of vocational certificate. The research tools were the teacher assessment, the computer and information skill assessment and the opinion assessment. The research results revealed that: 1) The 6 main elements of the active Learning model with augmented reality were 1.1) Students, 1.2) Teachers, 1.3) content, 1.4) Instruction Media with Augmented Reality, 1.5 process, and 1.6 evaluation with appropriate at the mean scores of 4.3 at the high level. 2) the pre-tests and post-tests were used to compare before and after learning achievements of the participants. The average score of after learning with the model was higher than the other, and they were significantly different at the .05 level and scores of computer and information skills after studying were significantly higher than the criteria at the statistic level of .05, and 3) teachers’ opinion toward learning activity mean scores were 4.53 at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนเชิงรุกร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง 2) ทดลองใช้รูปแบบการเรียนเชิงรุกร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง 3) รับรองรูปแบบการเรียนเชิงรุกร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริงกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 139 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็น แบบประเมินทักษะคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ แบบทดสอบทักษะคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ และแบบประเมินความคิดเห็น ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนเชิงรุกร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริงมี 6 องค์ประกอบได้แก่ 1.1) นักเรียน 1.2) ครู 1.3) เนื้อหาสาระ 1.4) สื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีเสมือนจริง 1.5) กระบวนการจัดการเรียนรู้ และ 1.6) การประเมินผล โดยมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมสอดคล้อง 4.3 อยู่ในระดับมาก 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนักเรียนมีทักษะคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) ครูผู้สอนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีระดับความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนth
dc.subjectการเรียนเชิงรุกth
dc.subjectเทคโนโลยีเสมือนจริงth
dc.subjectทักษะคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพth
dc.subjectInstructional Modelen
dc.subjectActive Learningen
dc.subjectAugmented Realityen
dc.subjectComputer and Information skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนเชิงรุกร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง เพื่อเสริมสร้างทักษะคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF ACTIVE LEARNING MODEL WITH AUGMENTED REALITY TO ENHANCE COMPUTER AND INFORMATION SKILLS FOR OCCUPATIONS OF VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS UNDER OFFICE THE VOCATIONAL EDUCATION COMMISSIONen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSupanee Sengsrien
dc.contributor.coadvisorสุภาณี เส็งศรีth
dc.contributor.emailadvisorsupanees@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsupanees@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Technology and Communicationsen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SuteeFutemwong.pdf7.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.