Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPimkhwan Kogkruten
dc.contributorพิมพ์ขวัญ โคกครุฑth
dc.contributor.advisorMonasit Sittisomboonen
dc.contributor.advisorมนสิช สิทธิสมบูรณ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-08-15T07:24:28Z-
dc.date.available2023-08-15T07:24:28Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5638-
dc.description.abstractThe research aims to: 1) construct and assess the efficiency of learning activities based on Science, Technology, Society, and Environment (STSE) approach with Infographics 2) study the results of using pre and post-learning activities outcomes has been comparing the ability to reason scientifically and the ability to make bioethical decisions with the sample group consisted of 30 Mathayomsuksa 4 students at Chansenengsuwananusorn School, Nakhon Sawan Province. The instruments were 4 lesson plans for using learning activities by using science, technology, society, and environment approach with infographics, and pre-test and post-test evaluation forms. The results of the research were as follows: 1. Science, Technology, Society, and Environment learning with infographics activities had 5 steps were as follow; 1) arouse interest form situation reality 2) explore and create visual information 3) discuss and make decisions 4) apply and create infographic and 5) evaluation. The developed learning activities were appropriate at the highest level ( = 4.91, S.D. = 0.16) and effectiveness equal 73.94/74.47 2. Scientific Reasoning ability in the posttest was higher than that of the pretest with a statistical level of .01 Bioethical Decision ability in the posttest was higher than that of the pretest with a statistical level of .05 and students increased Scientific Reasoning ability and bioethical decision ability during Science, Technology, Society, and Environment learning with infographics activities by learning science, technology, society, and environment from the reality of the situation, analyze the relationship between science, development, and technology that may affect each other both positively and negatively to the surrounding environment and propose solutions mutatis mutandis using biological ethical decision-making processes.en
dc.description.abstractการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม (STSE) ร่วมกับอินโฟกราฟิก 2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจเชิงชีวจริยธรรม ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ์ จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม (STSE) ร่วมกับอินโฟกราฟิก แผนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจทางชีวจริยธรรม ผลการวิจัย พบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม (STSE) ร่วมกับอินโฟกราฟิกมี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นรุกให้นักเรียนค้นหาข้อมูล 2) ขั้นให้อิสระในการค้นคว้าและสร้างข้อมูลเชิงภาพ 3) ขั้นอภิปรายและตัดสินใจร่วมกัน 4) ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้และสร้างข้อสรุปเชิงภาพ และ 5) ขั้นการประเมินผล โดยผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.91, S.D. = 0.16) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 73.94/74.47 และ 2. ผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า 1) ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจทางชีวจริยธรรม ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนเกิดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจทางชีวจริยธรรม ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม สิ่งแวดล้อมจากสถานการณ์จริง วิเคราะห์ความสัมพันธ์การพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่อาจส่งผลกระทบต่อกันทั้งในแง่บวกและแง่ลบของสิ่งมีชีวิตในสังคมและสิ่งแวดล้อม เสนอแนวทางแก้ปัญหา อย่างมีเหตุมีผล และใช้กระบวนการในการตัดสินใจบนพื้นฐานทางหลักการชีวจริยธรรมth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectอินโฟกราฟิกth
dc.subjectการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการตัดสินใจทางชีวจริยธรรมth
dc.subjectActivitiesen
dc.subjectScience Technology Society and Environment learningen
dc.subjectInfographicsen
dc.subjectScienceen
dc.subjectBioethicsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม (STSE) ร่วมกับอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการตัดสินใจทางชีวจริยธรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.titleA Development of Learning activities by using Science, Technology, Society and Environment Approach with Infographics to Promote Scientific Reasoning Ability and Bioethical Decision ability for grade 10 studentsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorMonasit Sittisomboonen
dc.contributor.coadvisorมนสิช สิทธิสมบูรณ์th
dc.contributor.emailadvisormonasits@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisormonasits@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PimkhwanKogkrut.pdf6.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.