Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAphirak Boonnaen
dc.contributorอภิรักษ์ บุญนะth
dc.contributor.advisorSongphop Khunmathuroten
dc.contributor.advisorทรงภพ ขุนมธุรสth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:21:01Z-
dc.date.available2023-05-30T02:21:01Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5551-
dc.description.abstractThe purposes of this study were 1) develop the experiential learning with storyline writing technique lesson plans for grade 6 students 2) compare the imaginative and creative writing achievement by using experiential learning with storyline writing technique for grade 6 students between pre-learning and post-learning 3) compare the imaginative and creative writing achievement by using experiential learning with storyline writing technique for grade 6 students between the post-learning and the 70 percent criterion, and 4) study the satisfaction of learning by experiential learning with storyline writing technique for grade 6 students. The sample, selected through the purposive sampling consisted of 21 grade 6 students in the second semester of the 2022 academic year studying at Watphrafang School. The instruments for this study were four the experiential learning with storyline writing technique lesson plans, the imaginative and creative writing achievement pre and posttest, and a satisfaction survey of grade 6 students towards learning by experiential learning with storyline writing technique. The data were analyzed by Mean, Percentage, Standard Deviation (S.D.), t-test dependent, and t-test One-Sample. The results of this study showed that 1) The experiential learning with storyline writing technique lesson plans were suitable in various element at the high level (x̅ = 4.38, S.D. = 0.85) 2) The imaginative and creative writing achievement by using experiential learning with storyline writing technique was higher than before learning at the significance level of .05. 3) The imaginative and creative writing achievement by using experiential learning with storyline writing technique was higher than the 70 percent criterion at the significance level at .05 4) The satisfaction of students towards learning by by using experiential learning with storyline writing technique was the highest level (x̅ = 4.63, S.D = 0.82)en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับเทคนิค การสร้างสรรค์งานเขียนแบบสตอรีไลน์ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ก่อนและหลังเรียน 3) พัฒนาทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเมืองฝาง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 84 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดพระฝาง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 21 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนการสอนแบบประสบการณ์ร่วมกับเทคนิคการสร้างสรรค์งานเขียนแบบสตอรีไลน์ 2) แบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test Dependent และt-test One-Sample ผลการวิจัยพบ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ ร่วมกับเทคนิคการสร้างงานเขียนแบบสตอรีไลน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความเหมาะสม ระดับมาก  (x̅ = 4.38, S.D. = 0.85) 2) ผลสัมฤทธิ์ทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) การพัฒนาทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 4) ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบประสบการณ์ร่วมกับเทคนิคการสร้างสรรค์งานเขียนแบบสตอรีไลน์อยู่ในระดับ มากที่สุด (x̅ = 4.63, S.D = 0.82)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทักษะการเขียนth
dc.subjectจินตนาการth
dc.subjectการสอนแบบประสบการณ์th
dc.subjectการสอนแบบสตอรีไลน์th
dc.subjectWriting skillen
dc.subjectImaginationen
dc.subjectExperiential Learningen
dc.subjectStoryline Writing Techiqueen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleการพัฒนาทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบประสบการณ์ร่วมกับเทคนิคสร้างสรรค์งานเขียนแบบสตอรีไลน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF IMAGINATIVE AND CREATIVE STORY WRITING BY USING EXPERIENTIAL LEARNING WITH CREATIVE STORYLINE WRITING TECHNIQUE FOR GRAD 6 STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSongphop Khunmathuroten
dc.contributor.coadvisorทรงภพ ขุนมธุรสth
dc.contributor.emailadvisorsongphopk@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsongphopk@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
AphirakBoonna.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.