Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatcharaporn Chantanyakamen
dc.contributorวัชราภรณ์ ชาญธัญญกรรมth
dc.contributor.advisorNamthip Ongrardwanichen
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:21:00Z-
dc.date.available2023-05-30T02:21:00Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5545-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) to a develop the four-tier misconceptions diagnostic test in chemistry, chemical reactions for eleventh grade students; 2) to validate the quality of the test; and 3) to interpret the misconceptions of students. The samples were 355 eleventh grade, students of the secondary educational service area office phetchabun. The four-tier diagnostic test is multiple choice exam that contains answer tier , confidence in answer tier , reasons tier and confidence in reasons tier. It was found that 1) in the four-tier diagnostic test had 12 misconceptions, 30 questions. 2) the results of the quality of test had an index of item objective congruence (IOC) between 0.60-1.00. The answer step had a difficulty index between 0.35-0.77 and the reasoning step of the test between 0.23-0.73, with a discrimination index between ,the answer step between 0.23-0.69 and the reasoning step between 0.23-0.77, and the reliability by the Kuder-Richardson method (KR 20) ,the answer step had 0.80 and the reasoning step had 0.83. and 3) the results of the misconceptions of students, most students belong to misconceptions : The concept of the rate of chemical reactions.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนแบบเลือกตอบสี่ระดับวิชาเคมี เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ และ 3) เพื่อแปลผลการวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์ จำนวนทั้งหมด 355 คน แบบทดสอบเป็นข้อสอบหลายตัวเลือกสี่ระดับ คือ ระดับคำตอบ ระดับความมั่นใจในคำตอบ ระดับเหตุผล และระดับความมั่นใจในเหตุผล ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยสี่ระดับฯ มีจำนวน 12 มโนทัศน์ ข้อสอบจำนวน 30 ข้อ 2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยสี่ระดับเพื่อศึกษามโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า ข้อสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ ในระดับคำตอบมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.35-0.77 และระดับเหตุผลมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.23-0.73  ค่าอำนาจจำแนกในระดับคำตอบมีค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง 0.23-0.69 และระดับเหตุผลมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.23-0.77 ค่าความเชื่อมั่นที่หาค่าด้วยวิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR 20) ในระดับคำตอบมีค่าความเชื่อมั่น 0.80 และระดับเหตุผลมีค่าความเชื่อมั่น 0.83 และ 3) ผลการวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มที่มีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน โดยมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนมากที่สุด ได้แก่ มโนทัศน์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแบบทดสอบวินิจฉัยสี่ระดับth
dc.subjectมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนth
dc.subjectปฏิกิริยาเคมีth
dc.subjectFour-tier diagnostic testen
dc.subjectMisconceptionsen
dc.subjectChemical reactionsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนแบบเลือกตอบสี่ระดับวิชาเคมี เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.titleA DEVELOPMENT OF THE FOUR-TIER MISCONCEPTIONS DIAGNOSTIC TEST IN CHEMISTRY, CHEMICAL REACTIONS FOR THE ELEVENTH GRADE STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNamthip Ongrardwanichen
dc.contributor.coadvisorน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์th
dc.contributor.emailadvisornamthipo@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisornamthipo@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WatcharapornChantanyakam.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.