Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjawan Kaewluechaien
dc.contributorเบญจวรรณ แก้วลือไชยth
dc.contributor.advisorNamthip Ongrardwanichen
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:54Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:54Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5531-
dc.description.abstractThis research aimed to study 1) the Open Approach to learning management approaches that promote creative problem-solving ability in addition, subtraction, multiplication and division for grade 3 student. 2) the Development of creative problem-solving ability in addition, subtraction, multiplication and division for grade 3 student by Open Approach. The target group were 13 of grade 3 students in a school, Pitsanulok Province. This is a classroom action research. Research tools include lesson plans, activity sheets with the average of appropriateness of 4.41 and creative problem-solving ability test with the Item Objective Congruence (OIC) Index is 0.94. Data were analyzed by content analysis. The results revealed that most of students were in very good level of creative problem solving ability. Namely, students can find the fact and find the asked question in very good level, while they can find strategy for problem solving and can find problem solving processes and can create new knowledge in good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่องการบวก ลบ คูณ หารระคน 2) พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่องการบวก ลบ คูณ หารระคน โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 13 คน โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม (ซึ่งมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมเท่ากับ 4.41) และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (ซึ่งข้อคำถามทุกข้อมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.93) ข้อมูลวิจัยที่ได้นำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์อยู่ในระดับดีมาก กล่าวคือ นักเรียนมีความสามารถในการค้นพบความจริง และความสามารถในการค้นพบปัญหาอยู่ในระดับดีมาก มีความสามารถในการค้นพบแนวคิด ความสามารถในการค้นพบวิธีการแก้ปัญหา และความสามารถในการสร้างสรรค์ความรู้อยู่ในระดับดีth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิดth
dc.subjectCreative Problem Solvingen
dc.subjectOpen Approachen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่องการบวก ลบ คูณ หารระคน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด (Open Approach) th
dc.titleThe Development of Creative Problem Solving on addition, subtraction, multiplication and division for Grade 3 Students by Open Approachen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNamthip Ongrardwanichen
dc.contributor.coadvisorน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์th
dc.contributor.emailadvisornamthipo@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisornamthipo@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BenjawanKaewluechai.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.