Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5501
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSutida Artthanongen
dc.contributorศุธิดา อาจทะนงค์th
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:48Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:48Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5501-
dc.description.abstractThis action research aimed to study how design-based learning approach should be used in class to promote creative thinking of Grade 11 students. The research participants were 30 students majoring in the Science-Math program. The research tools included lesson plans, semi-structured observation protocol, student’s learning journals and artifacts. Data analysis were content analysis and data creditability by method triangulation. The result showed that the design-based learning approach must consist of 4 steps procedures: identifying needs, collecting information, developing prototype and evaluating respectively. The key concept of using the approach was to encourage the students’ interest by using their living situations in a challenging way and to provide them suitable rewards. These would support the creativity of the students. In addition, the research also found that the students then developed their creative thinking: First, most of students developed their diversity in creative thinking, second they developed their evaluating and improving ideas, and last they developed their creative construction.en
dc.description.abstractการวิจัยปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การออกแบบเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ โดยมีผู้เข้าร่วมวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โครงการห้องเรียนทั่วไปวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 1 ห้อง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสังเกตการจัดการเรียนรู้แบบกึ่งโครงสร้าง บันทึกการเรียนรู้ และชิ้นงาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การออกแบบเป็นฐาน เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นระบุปัญหาและความต้องการในการออกแบบ ขั้นรวบรวมข้อมูล ขั้นพัฒนาต้นแบบ และขั้นประเมินผลงาน ตามลำดับ ทั้งนี้หัวใจของการจัดการเรียนรู้ คือ การกระตุ้นความสนใจและท้าทายนักเรียนด้วยสถานการณ์ใกล้ตัว และมีรางวัลเป็นแรงจูงใจเชิงบวกอย่างเหมาะสม จะสามารถส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนได้ นอกจากนี้ การวิจัย พบว่า นักเรียนสามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละองค์ประกอบย่อยได้ดังนี้ การสร้างแนวคิดที่หลากหลาย ได้มากที่สุด รองลงมาคือ การประเมินและปรับปรุงแนวคิด และการสร้างความคิดสร้างสรรค์ ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การออกแบบเป็นฐานth
dc.subjectพัฒนาต้นแบบth
dc.subjectCreative Thinkingen
dc.subjectDesign-Based Learningen
dc.subjectPrototypeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การออกแบบเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์์ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.titleDEVELOPING DESIGN - BASED LEARNING APPROACH TO PROMOTE CREATIVE THINKING ABOUT CHEMICAL REACTION RATE OF GRADE 11 STUDENTSen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.coadvisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.emailadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SutidaArtthanong.pdf7.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.