Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatsiree Dechatiwong na ayutthayaen
dc.contributorณัฐสิรี เดชาติวงศ์ ณ อยุธยาth
dc.contributor.advisorWareerat Kaewuraien
dc.contributor.advisorวารีรัตน์ แก้วอุไรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:46Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:46Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5494-
dc.description.abstractThis research was 1) to construct a learning management model and study its qualities 2) to implement a learning management and study its results; and 3) study students’ satisfaction toward the learning management model. This research consisted of 3 steps of research and development processes: 1) constructing a learning management model which was evaluated by 5 experts and studying its quality by implementing it to a pilot group of 35 Mattayom 3 students to study an effective index; 2) implementing the learning management model with 23 Mattayom 3 students of Wangngiuwittayakom School by specific sample; and 3) study students’ satisfaction toward the learning management model. The research results were as follows: 1. The learning management model consisted of principles, goals, contents, instructional processes, and measurements and evaluations. The learning management model consisted of 4 components; 1) Presentation 2) Interaction 3) Scaffolding and 4) Production. The experts agreed to the quality of the learning management model at high level. The effective index of the learning management model was .5234. 2. When the learning management model was implemented, it was found that: 2.1 The students’ communicative skills after learning through the learning management model was higher than before learning at the .01 level of statistical significance. 2.2 The students’ interpersonal relationship between learning was at a high level. 3. The students’ satisfaction toward the learning management model was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคมเพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  และ 3) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น การดำเนินการวิจัยเชิงพัฒนามี 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นสร้างและตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และทดลองนำร่องเพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 35 คน  2) ขั้นศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีทที่ 3 โรงเรียนวังงิ้ววิทยาคม จำนวน 23 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง และ 3) ขั้นศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยทดลองใช้กับนักเรียนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวังงิ้ววิทยาคม จำนวน 23 คน  ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แล้ว ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และ การวัดและประเมินผล โดยโครงสร้างของรูปแบบเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นนำเสนอเนื้อหา (Presentation) ขั้นปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน (Interaction) ขั้นการเสริมศักยภาพ (Scaffolding)  และขั้นการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Production) ซึ่งผลการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ .5234 2. ผลการทดลองใช้และศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า 2.1 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น พบว่า ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.2 ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก 3. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคมth
dc.subjectทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษth
dc.subjectLearning Management Modelen
dc.subjectSociocultural Theoryen
dc.subjectEnglish Communicative Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีวัฒนธรรมเชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF A LEARNING MANAGEMENT MODEL BASED ON SOCIOCULTURAL THEORY TO ENHANCE ENGLISH COMMUNICATIVE SKILLS FOR LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWareerat Kaewuraien
dc.contributor.coadvisorวารีรัตน์ แก้วอุไรth
dc.contributor.emailadvisorwareeratk@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorwareeratk@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NatsireeDechatiwongnaayutthaya.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.