Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5381
Title: การจัดการปัญหาความแห้งแล้งอย่างยั่งยืนในสวนเกษตรอินทรีย์ขนาดเล็กบนพื้นที่สูง
Sustainable Drought Management in Smallholding Organic Farm on High Ground
Authors: ORANUT NAOWAKATE
อรนุช เนาวเกตุ
Patcharin Sirasoonthorn
พัชรินทร์ สิรสุนทร
Naresuan University
Patcharin Sirasoonthorn
พัชรินทร์ สิรสุนทร
patcharins@nu.ac.th
patcharins@nu.ac.th
Keywords: การจัดการความแห้งแล้ง สวนเกษตรอินทรีย์ขนาดเล็ก การจัดการอย่างยั่งยืน
Drought Management Smallholding Organic Farm Sustainable Management
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: This study aims to investigate existing knowledge management on model of drought management and to propose new approach and new concept of sustainable management in smallholding organic farms (SOF) on high ground in Phitsanulok province. The theoretical framework focuses on sustainable management where qualitative constructing grounded theory (CGT) research methodology was adopted right before the research to identify the vital problem issue. Obtaining related the information in the past twelve years and tooling by retrospective technique in after action review (AAR) in lessons learned (LL) with 4 methods: in-depth interview, participant observation, recording information guide and digital image recording sheet. The units of analysis are entrepreneurs who have vitalized the concepts of environmental conservation into their small and medium size business with organic agriculture and the farmers or labours in the farms. The data were analysed using grounded theory coding from initial codes to find data saturation and categorised into analytical main codes of key components in management before defining with models of specific components and management. The research results presents that the sets of the generalization knowledge managements opposed to their specific landscape related to four key biophysical constraint management: soil, water, slope, and local climates and social contexts. The LL represents with 4 models of managements: cultural-based, leadership-based, partnership and community-based and biological-based. From the results, the study then suggests the fifth model that may help strengthen the management model to create sustainability in the specific areas and contexts. As a model of a biological and integrated based with the following components: diversification of farm type with sub-types, goal, purpose, personnel, knowledge and experience, strategy, and process that suits to their areas and contexts of environment, people, and network with participatory approach.      
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบค้นการจัดการความรู้ที่มีอยู่เกี่ยวกับรูปแบบการจัดการความแห้งแล้ง เพื่อทำการเสนอแนวทางและแนวคิดใหม่ของการจัดการที่ยั่งยืนในสวนเกษตรอินทรีย์ขนาดเล็กบนพื้นที่สูงในจังหวัดพิษณุโลก ในกรอบทฤษฎีที่มุ่งเน้นไปที่การจัดการอย่างยั่งยืน  โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทฤษฎีฐานรากประกอบสร้างเชิงคุณภาพ  ที่ถูกนํามาใช้ตั้งแต่ก่อนการวิจัยเพื่อระบุปัญหาที่สําคัญของพื้นที่  ใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในช่วงสิบสองปีที่ผ่านมา ด้วยเทคนิค retrospective technique ของการทำ after action review (AAR) ของการถอดบทเรียน ด้วยเครื่องมือสี่ชนิด คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม คู่มือข้อมูลการบันทึก และการบันทึกภาพดิจิทัล โดยที่หน่วยวิเคราะห์คือผู้ประกอบการที่ให้ความสําคัญกับแนวคิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เป็นธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลางด้วยเกษตรอินทรีย์ กับเกษตรกรหรือแรงงานในสวน ข้อมูลได้รับการวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎีฐานรากจากรหัสเริ่มต้นผ่านความอิ่มตัวของข้อมูล และนำไปแบ่งออกเป็นรหัสหลักในการวิเคราะห์ ก่อนแยกประเภทออกมาเป็นองค์ประกอบหลักในการจัดการ และทำการกําหนดด้วยแบบจําลองของส่วนประกอบและการจัดการจำเพาะ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าชุดของการจัดการจากการสามัญการความรู้ทั่วไป มีความขัดแย้งกับภูมิทัศน์เฉพาะของพื้นที่  ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อจํากัดหลักทางชีวฟิสิกส์ที่สําคัญสี่ประการ คือ ดิน น้ํา ความลาดชัน และสภาพอากาศท้องถิ่น และบริบททางสังคม ผลของการถอดบทเรียนแสดงให้เห็นผลการจัดการ แบ่งรูปแบบของการจัดการที่ปรากฎได้ 4 รูปแบบ คือ แบบบานการจัดการตามวัฒนธรรมองค์กร  การจัดการแบบผู้นํา การจัดการแบบการสร้างความร่วมมือและชุมชน และรูปแบบการจัดการตามหลักการทางชีวภาพ จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นข้อเสนอแนะของรูปแบบการจัดการแบบที่ห้า ที่อาจช่วยเสริมสร้างรูปแบบการจัดการเพื่อสร้างความยั่งยืนในพื้นที่และบริบทที่เฉพาะเจาะจง เป็นรูปแบบของการจัดการทางชีวภาพและบูรณาการความรู้ ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้: ความหลากหลายของประเภทของสวนเกษตรอินทรีย์ที่มีรูปแบบหลักตามเกษตรนิเวศอินทรีย์ ที่มีรูปแบบย่อยของการดำเนินธุรกิจตาม เป้าหมาย วัตถุประสงค์ บุคลากร ความรู้และประสบการณ์ กลยุทธ์ และกระบวนการที่เหมาะสมกับพื้นที่และบริบทของสภาพแวดล้อมผู้คนและเครือข่ายแบบการมีส่วนร่วมเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์      
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5381
Appears in Collections:คณะสังคมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
OranutNacwakate.pdf7.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.